ReadyPlanet.com
ardo calypso
dot
เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ : ข้อควรปฎิบัติ
dot
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 1
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 2
bulletวิธีเลือกกุมารแพทย์ให้ลูก
bulletก่อนคลอด
bulletสิ่งที่ต้องทำเมื่ออยู่ ร.พ.
bulletหลังคลอด
bulletท่าในการให้นม
bulletBreast Crawl
bulletความคาดหวังของลูกน้อย
bulletบันทึกการให้นมลูก
bulletวิธีให้นมเสริมอย่างถูกต้อง
bulletสัมผัสรักระหว่างแม่ลูก
bulletโรงพยาบาลสนับสนุนนมแม่
bulletแบบสอบถาม
dot
ปัญหาเรื่อง นมแม่
dot
bulletวิธีแก้ปัญหานมไม่พอ
bullet"นมแม่" ถ้าเข้าใจ ยังไงก็พอ
bulletนมพอหรือไม่
bulletเมื่อลูกไม่ดูดนมแม่ (new)
bulletอาหารเพิ่มน้ำนม
bulletวิธีเพิ่มน้ำนมด้วยการปั๊มนม
bulletWorkshop เพิ่มน้ำนม (new)
bulletยาประสระน้ำนม
bulletDomperidone (Motilium)
bulletยาเพิ่มน้ำนม Motilium
bulletคำเตือนสำหรับการใช้ยา Domperidone
bulletน้ำหนักตัวเพิ่มช้า
bulletน้ำหนักตัวน้อย
bulletเจ็บหน้าอก หัวนมแตก
bulletการบีบหน้าอก ช่วยลูกดูดนม
bulletลูกแพ้นมแม่หรือเปล่า
bulletตัวเหลือง
bulletสารพันปัญหา
บริจาคนมแม่
dot
เมื่อแม่ต้องไปทำงาน
dot
bullet20 เคล็ดลับสำหรับแม่ทำงาน
bulletมาทำ stock น้ำนม กันเถอะ
bulletวิธีให้ลูกยอมดูดนมแม่จากขวด
bulletจะให้ลูกกินอะไรเมื่อแม่ไปทำงาน
bulletวิธีเก็บรักษานมแม่
bulletต้องเตรียมปั๊มนมไว้ให้ลูกแค่ไหนถึงจะพอดี ?
bulletโปรแกรมคำนวณนมแม่
bulletยาคุมกำเนิด
dot
คุณแม่นักปั๊ม
dot
bulletการปั๊มนมโดยใช้เครื่องปั๊มนม
bulletปั๊มนมอย่างไรให้พอ หากลูกไม่ดูดจากเต้า
bulletข้อคิดก่อนซื้อ ที่ปั๊มนม
bulletเพิ่มน้ำนมภายใน 14 วันแรก
bulletเครื่องปั๊มนมยี่ห้อไหนดี
bulletซื้อเครื่องปั๊มที่ไหนดี
bulletปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี
bulletเรื่องของคุณแม่นักปั๊ม
bulletถุงเก็บน้ำนมแม่
dot
กลเม็ดเคล็ดลับ
dot
bulletวิธีบีบน้ำนมด้วยมือ (new)
bulletบีบด้วยมือ vs ปั๊มด้วยเครื่อง
bullet10 เคล็ดลับเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้ครบปี
bulletนอนให้นม...สบายมากๆ เลย
bulletอุปกรณ์เสริม ช่วยแม่ให้นมลูก
bulletมุมให้นมแม่
bulletวิธีพาสเจอร์ไรซ์นมแม่
dot
ปัญหาที่พบไม่บ่อย
dot
bulletลิ้นติด (Tongue Tie)
bulletเลี้ยงลูกแฝดด้วยนมแม่
bulletต้องการถามปัญหาอื่นๆ
bulletทำไมทารกร้องไห้โยเย
dot
หนังสือแนะนำ
dot
bulletขอรับหนังสือนมแม่ฟรี
bulletการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletสร้างชีวิตมหัศจรรย์ด้วยน้ำนมแม่
bulletนมแม่ ทุนสมองของลูกรัก
bullet เคล็ดลับ...แม่มือใหม่ "นมแม่"
bulletเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletพัฒนาสมองด้วยนมแม่...
bulletGuide to Breastfeeding
dot
แหล่งข้อมูลความรู้เรื่องนมแม่
dot
bulletคลินิกนมแม่ทั่วประเทศ
bulletนมแม่ แน่ที่สุด
bulletศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย
bulletคลีนิครัก
bulletศริริราชออนไลน์
bulletสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ
bulletwww.breastfeeding.com
bulletPromom
bulletรักลูก
bulletLa Leche League
bullet4woman
bulletMother & Child Health
bulletWABA
bulletBreastfeedingonline
bulletDr. Sears
bulletbreastfeedingbasics
bulletwebboard
bulletkellymom
bulletDr. Jack Newman
bulletInfact
bulletgotbreastpump
bulletNew Beginnings
bulletโครงการสายใยรัก
bulletศูนย์ข้อมูล สสส
bulletUNICEF
bulletbreastfeedingmadesimple
bullethm4hb
bulletLactation Narration
bulletNormalFed
dot
Brainfeeding
dot
bulletเก็บมาฝาก
bulletIf we don't care, who will?
bullet๖๐ เรื่องน่ารู้ ในหลวงของเรา
bulletสัมภาษณ์ ดร. อาจอง ชุมสาย ฯ
bulletคนดีของพ่อ
bulletเรื่องที่ไม่มีใครอยากให้รู้
bulletคุยกับประภาส
dot
Sponsor Link
dot
bulletbfdcenter
bulletร้านนมแม่
bulletศูนย์รวมฟิล์มทุกชนิด
bulletV-Kool
bulletSuvarnabhumi Airport Hostel
bulletBussaba Bangkok Boutique Hotel Suvarnabhumi Airport
bulletbeing-mom
bulletมีลูกยาก
bulletSite Map
ปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี whisper
unimom allegro
ardo calypso
Ardo Carum
bulletนมแม่


ร้านนมแม่-เครื่องปั๊มนม


เตรียมตัวพี่อย่างไรให้พี่รักน้อง

บทความโดย พญ.สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ https://www.doctorbreastfeeding.com/

 

ลูกคนโตอายุ 4 ขวบ คุณแม่กำลังจะคลอดคนที่สอง จะเตรียมบอกลูกคนโตอย่างไร ไม่ให้รู้สึกว่าถูกทอดทิ้ง"
ควรบอกเวลาใด ผู้เชี่ยวชาญแนะนำว่า ควรรอให้พ้นไตรมาสแรกก่อน เพราะเด็กใจร้อน ยังไม่เข้าใจ เรื่องของการรอคอย และระยะเวลาดีนัก ลูกจะได้ไม่ต้องรอนานเกินไป
 ถ้าบอกวันนี้ เขาจะรบเร้าถามคุณทุกวันว่าเมื่อไรน้องจะคลอด และอาจเป็นการรอให้แน่นอนก่อนว่า ลูกในท้องแข็งแรงปลอดภัยดี แต่ก็ไม่บอกช้าจนเกินไป เพราะจะทำให้ลูกมีความวิตกกังวลว่าจะมีอะไรไม่ชอบมาพากลจะเกิดขึ้น พ่อแม่มีท่าทีแปลกๆ หรือ แม่ดูไม่ค่อยแข็งแรง 
คุณแม่บอกลูกได้ว่า เพราะแม่ท้อง จึงทำให้แม่ดูเนือยๆไปหน่อย
 ไม่งั้นลูกจะไม่เข้าใจว่า คุณแม่เป็นอะไร หรือ ถ้าลูกคนโตอยากให้อุ้ม แต่แม่อุ้มไม่ไหว ให้บอกว่า เพราะแม่เจ็บแขน หรือเจ็บหลัง หรือ เจ็บท้อง แต่มีกิจกรรมอื่นมาทดแทน เช่น บอกลูกว่าถึงแม่อุ้มหนูไม่ได้ แต่แม่อ่านหนังสือให้หนูฟังได้ หรือ ให้นอนหนุนตัก หรือ นั่งกอดกัน แต่อย่าบอกว่าเป็นเพราะน้อง เดี๋ยวลูกคนโตจะรู้สึกไม่ดีกับน้อ
หากเป็นช่วงเวลาที่ต้องฝึกอ
ะไร เช่น ฝึกแยกห้องนอน พาเข้าโรงเรียน เลิกขวดนม ฝึกขับถ่าย ควรทำล่วงหน้าก่อนคลอดน้อง 3 เดือน หรือ หลังจากคลอดน้อง 3 เดือน เพื่อไม่ให้ลูกคนโตรู้สึกว่าเป็นเรื่องสัมพันธ์กับการมีน้อง
เริ่มให้ลูกคนโตเรียนรู้การ
อยู่กับคนอื่นบ้าง เช่น พี่เลี้ยง คุณพ่อ โดยคุณแม่ค่อยๆลดบทบาทลง เช่น อาบน้ำ พาเข้านอน ป้อนข้าว พาไปสนามเด็กเล่นให้ลูกดูรูปตอนเป็นทารก ให้เห็นน้องเวลาคุณหมอทำอัลตราซาวด์ ให้ฟังเสียงหัวใจน้อง จับท้องแม่เวลาน้องดิ้น พูดคุยกับน้อง เพื่อเป็นการสร้างความคุ้นเคย
ให้ลูกคนโตช่วยตกแต่งบ้านเต
รียมต้อนรับน้องใหม่ เตรียมของขวัญให้น้อง ปรึกษากับลูกคนโต เรื่องการเอาเสื้อผ้า ของเล่น ที่ลูกไม่ใช้แล้ว มาเตรียมซักทำความสะอาด แต่ถ้าลูกคนโตไม่ยินดีให้ อย่าบังคับ และคุณแม่เตรียมของขวัญของพี่ แล้วบอกว่าน้องให้พี่ เขาจะได้ดีใจ ให้ลูกช่วยตั้งชื่อน้อง
บอกให้ลูกรู้ล่วงหน้าว่า ทารกร้องไห้เก่ง นอนเก่ง และกินเก่ง อาหารของน้อง คือ นมแม่ ยังกินข้าวไม่ได้ เพราะยังไม่มีฟัน
ระวังการพูดแหย่ลูกคนโต โดยใครๆก็ตาม เช่น อย่าดื้อ เดี๋ยวไม่รัก เดี๋ยวรักน้องมากกว่า กำลังจะตกกระป๋อง เป็นหมาหัวเน่า
ถ้าลูกคนโตอายุยังไม่มาก อาจอยากกินนมแม่บ้าง เพื่อเลียนแบบน้อง ให้เขามาลองดูดได้ เขาจะดูดไม่ออก หรือพอรับรู้รสชาติซึ่งไม่ค
ุ้นเคย เขาอาจเลิกดูดไปเอง และรู้สึกเห็นใจน้องที่ต้องกินนมแม่ จะไม่รู้สึกอิจฉา แต่หากลูกคนโตชอบกินนมแม่ด้วย ก็สามารถให้กินได้ และมีข้อดี คือ ลูกจะได้ภูมิคุ้มกันและสารต่างๆที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย อย่างที่ธรรมชาติตั้งใจ คือ ให้ได้นานจน 6-7 ขวบ และถ้าลูกคนโตได้รับภูมิคุ้มกันจากนมแม่ เขาจะป่วยน้อยลงกว่าเดิม 5 เท่า จะช่วยป้องกันไม่ให้น้องป่วยจากการรับเชื้อจากพี่ด้วย เนื่องจากลูกคนที่สอง ถ้าเลี้ยงทุกอย่างเหมือนคนแรก จะป่วยบ่อยกว่าคนแรก เพราะตอนคนแรกยังเล็กอยู่ จะไม่มีใครเอาเชื้อโรคมาติด จึงไม่ป่วย จนกระทั่งเริ่มไปโรงเรียน แต่พอคนที่สองคลอด คนแรกเริ่มไปโรงเรียนจะติดเชื้อจากโรงเรียน และเอามาติดน้องด้วยทุกครั้ง ในปีแรก แต่หากน้องได้กินนมแม่ยาวนาน หลังขวบปีแรกเป็นต้นไป บางทีเป็นหวัดกันทั้งบ้าน คนเล็กที่ยังกินนมแม่อยู่ จะไม่ป่วยอยู่คนเดียวในบ้าน เพราะมีภูมิคุ้มกันจากนมแม่ เวลาที่แม่จะเอาน้องมาดูดนม ควรถามคนโตว่าหนูอยากกินอะไร หรือ อยากเล่นเกมส์หรืออ่านหนังสืออะไร เวลาที่แม่กำลังให้นมน้องอยู่ และคุณแม่ควรหาเวลาเพื่อให้ความสนใจแก่ลูกคนโตอย่างเต็มที่เป็นการชดเชย โดยให้คนอื่นดูแลคนเล็กแทน
ให้ลูกมีส่วนร่วมในการดูแลน
้อง เช่น หยิบผ้าอ้อม ป้อนอาหาร จับเรอ สอนวิธีอุ้มน้องที่ถูกต้องภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิด และอย่าลืมกฎเหล็ก คือ ห้ามทิ้งเด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบให้อยู่ตามลำพังกับทารกเป็นอันขาด
ลูกคนโตอาจมีพฤติกรรมถดถอย เช่น ร้องไห้มากขึ้น อุจจาระปัสสาวะราด พูดไม่ชัด พูดติดอ่าง เป็นเพราะความเครียด ห้ามไม่ให้ดุลูก เพราะจะทำให้เป็นมากขึ้น แต่ใช้วิธีป้องกัน โดยการพูดชมเชยการที่เขาเป็
นเด็กโต ช่วยเหลือตัวเองได้มากเพียงใด เก่งเพียงใด ทำให้คุณแม่ภูมิใจและปลื้มใจมากเพียงใด จะทำให้ลูกภูมิใจในสิ่งที่ตัวเองเป็นอยู่ จะได้ไม่อยากเลียนแบบน้อง
ฝึกให้พี่สอนและดูแลน้อง และให้คำชมเชยที่ช่วยแบ่งเบ
าภาระในการดูแลน้องแทนพ่อแม่ได้ เพื่อน้องจะได้เชื่อฟังและเคารพพี่ ยกตัวอย่าง อาจารย์แพทย์ของป้าหมอมีลูก 3 คน เรียนหนังสือเก่งทุกคน สอบได้แพทย์เหมือนกันหมด เรียนถามเคล็ดลับจากอาจารย์ว่าเลี้ยงลูกอย่างไรจึงจะเก่งได้ทุกคนเช่นนี้ อาจารย์ตอบว่า ผมให้พี่สอนน้อง ถ้าน้องสอบได้คะแนนดี น้องได้รับรางวัล พี่ก็ได้ด้วย ถ้าน้องได้รางวัลอยู่คนเดียว พี่หมั่นไส้ก็ไม่อยากสอนน้อง ไม่รักน้อง น้องก็ไม่เคารพพี่ วิธีให้พี่สอนน้อง จะทำให้พี่น้องรักกัน คอยดูแลกันและกันไปตลอด ถึงแม้พ่อแม่จะไม่ได้มีชีวิตอยู่แล้วก็ตาม




15.การให้นมแม่ขณะตั้งครรภ์, แม่ลูกแฝด, พี่น้องได้กินนมแม่

ลูกคนโตได้กินนมแม่ด้วย เมื่อแม่คลอดน้อง
คุณแม่ตั้งท้องให้นมแม่ได้ค่ะ
เลี้ยงลูกแฝดด้วยน้ำนมแม่
พี่น้องได้กินนมแม่จากเต้าทำไมต้องกิน?
ถึงมีลูกแฝดก็ให้นมแม่สำเร็จได้