ReadyPlanet.com
ardo calypso
dot
เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ : ข้อควรปฎิบัติ
dot
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 1
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 2
bulletวิธีเลือกกุมารแพทย์ให้ลูก
bulletก่อนคลอด
bulletสิ่งที่ต้องทำเมื่ออยู่ ร.พ.
bulletหลังคลอด
bulletท่าในการให้นม
bulletBreast Crawl
bulletความคาดหวังของลูกน้อย
bulletบันทึกการให้นมลูก
bulletวิธีให้นมเสริมอย่างถูกต้อง
bulletสัมผัสรักระหว่างแม่ลูก
bulletโรงพยาบาลสนับสนุนนมแม่
bulletแบบสอบถาม
dot
ปัญหาเรื่อง นมแม่
dot
bulletวิธีแก้ปัญหานมไม่พอ
bullet"นมแม่" ถ้าเข้าใจ ยังไงก็พอ
bulletนมพอหรือไม่
bulletเมื่อลูกไม่ดูดนมแม่ (new)
bulletอาหารเพิ่มน้ำนม
bulletวิธีเพิ่มน้ำนมด้วยการปั๊มนม
bulletWorkshop เพิ่มน้ำนม (new)
bulletยาประสระน้ำนม
bulletDomperidone (Motilium)
bulletยาเพิ่มน้ำนม Motilium
bulletคำเตือนสำหรับการใช้ยา Domperidone
bulletน้ำหนักตัวเพิ่มช้า
bulletน้ำหนักตัวน้อย
bulletเจ็บหน้าอก หัวนมแตก
bulletการบีบหน้าอก ช่วยลูกดูดนม
bulletลูกแพ้นมแม่หรือเปล่า
bulletตัวเหลือง
bulletสารพันปัญหา
บริจาคนมแม่
dot
เมื่อแม่ต้องไปทำงาน
dot
bullet20 เคล็ดลับสำหรับแม่ทำงาน
bulletมาทำ stock น้ำนม กันเถอะ
bulletวิธีให้ลูกยอมดูดนมแม่จากขวด
bulletจะให้ลูกกินอะไรเมื่อแม่ไปทำงาน
bulletวิธีเก็บรักษานมแม่
bulletต้องเตรียมปั๊มนมไว้ให้ลูกแค่ไหนถึงจะพอดี ?
bulletโปรแกรมคำนวณนมแม่
bulletยาคุมกำเนิด
dot
คุณแม่นักปั๊ม
dot
bulletการปั๊มนมโดยใช้เครื่องปั๊มนม
bulletปั๊มนมอย่างไรให้พอ หากลูกไม่ดูดจากเต้า
bulletข้อคิดก่อนซื้อ ที่ปั๊มนม
bulletเพิ่มน้ำนมภายใน 14 วันแรก
bulletเครื่องปั๊มนมยี่ห้อไหนดี
bulletซื้อเครื่องปั๊มที่ไหนดี
bulletปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี
bulletเรื่องของคุณแม่นักปั๊ม
bulletถุงเก็บน้ำนมแม่
dot
กลเม็ดเคล็ดลับ
dot
bulletวิธีบีบน้ำนมด้วยมือ (new)
bulletบีบด้วยมือ vs ปั๊มด้วยเครื่อง
bullet10 เคล็ดลับเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้ครบปี
bulletนอนให้นม...สบายมากๆ เลย
bulletอุปกรณ์เสริม ช่วยแม่ให้นมลูก
bulletมุมให้นมแม่
bulletวิธีพาสเจอร์ไรซ์นมแม่
dot
ปัญหาที่พบไม่บ่อย
dot
bulletลิ้นติด (Tongue Tie)
bulletเลี้ยงลูกแฝดด้วยนมแม่
bulletต้องการถามปัญหาอื่นๆ
bulletทำไมทารกร้องไห้โยเย
dot
หนังสือแนะนำ
dot
bulletขอรับหนังสือนมแม่ฟรี
bulletการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletสร้างชีวิตมหัศจรรย์ด้วยน้ำนมแม่
bulletนมแม่ ทุนสมองของลูกรัก
bullet เคล็ดลับ...แม่มือใหม่ "นมแม่"
bulletเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletพัฒนาสมองด้วยนมแม่...
bulletGuide to Breastfeeding
dot
แหล่งข้อมูลความรู้เรื่องนมแม่
dot
bulletคลินิกนมแม่ทั่วประเทศ
bulletนมแม่ แน่ที่สุด
bulletศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย
bulletคลีนิครัก
bulletศริริราชออนไลน์
bulletสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ
bulletwww.breastfeeding.com
bulletPromom
bulletรักลูก
bulletLa Leche League
bullet4woman
bulletMother & Child Health
bulletWABA
bulletBreastfeedingonline
bulletDr. Sears
bulletbreastfeedingbasics
bulletwebboard
bulletkellymom
bulletDr. Jack Newman
bulletInfact
bulletgotbreastpump
bulletNew Beginnings
bulletโครงการสายใยรัก
bulletศูนย์ข้อมูล สสส
bulletUNICEF
bulletbreastfeedingmadesimple
bullethm4hb
bulletLactation Narration
bulletNormalFed
dot
Brainfeeding
dot
bulletเก็บมาฝาก
bulletIf we don't care, who will?
bullet๖๐ เรื่องน่ารู้ ในหลวงของเรา
bulletสัมภาษณ์ ดร. อาจอง ชุมสาย ฯ
bulletคนดีของพ่อ
bulletเรื่องที่ไม่มีใครอยากให้รู้
bulletคุยกับประภาส
dot
Sponsor Link
dot
bulletbfdcenter
bulletร้านนมแม่
bulletศูนย์รวมฟิล์มทุกชนิด
bulletV-Kool
bulletSuvarnabhumi Airport Hostel
bulletBussaba Bangkok Boutique Hotel Suvarnabhumi Airport
bulletbeing-mom
bulletมีลูกยาก
bulletSite Map
ปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี whisper
unimom allegro
ardo calypso
Ardo Carum
bulletนมแม่


ร้านนมแม่-เครื่องปั๊มนม


วิธีทำให้การฉีดวัคซีนเป็นเรื่องง่าย

 บทความโดย พญ.สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ https://www.doctorbreastfeeding.com/

 

 วิธีการที่ได้ผลในการทำให้ลูกไม่กลัวการมาพบคุณหมอเด็ก และ มีความรู้สึกต่อต้านการฉีดวัคซีนลดลง

1.พาลูกไปรีบวัคซีนตามกำหนด
 โชคดีที่วัคซีนส่วนใหญ่จะฉีดในช่วงขวบปีแรก ซึ่งเป็นช่วงที่ลูกยังเล็กอยู่ ยังจำความสัมพันธ์ระหว่างการมาพบแพทย์กับความเจ็บปวดไม่ได้ ซึ่งต่างกับเด็กโตกว่า 1 ขวบ ซึ่งจำความเจ็บจากการฉีดยาครั้งก่อนได้แล้ว ทำให้เวลาเลี้ยวรถเข้ารพ. ก็ทำให้ลูกร้องไห้จ้าได้เลย ดังนั้นคุณแม่ไม่ควรเลื่อนการฉีดวัคซีนออกไปโดยไม่จำเป็น เพราะจะทำให้ลูกจำได้จนร้องไห้ทุกครั้งตั้งแต่ก่อนเข้าห้องตรวจและหลังฉีดยาเสร็จก็ยังร้องไห้ต่ออีกนาน แต่ถ้าเป็นเด็กเล็ก ก็จะร้องไห้แค่ตอนฉีด เพราะเด็กเล็กยังไม่รู้จักเจ็บใจ

2.ท่าทีของพ่อแม่ ยิ้มๆไว้ค่ะ เพราะถ้าพ่อแม่ดูเครียดๆ ลูกก็จะวิตกกังวลมากขึ้น ส่วนคำพูดว่า “ไม่เป็นไร ไม่ต้องกลัว” กลับจะยิ่งเพิ่มความกลัวให้
กับลูก เพราะลูกจะคิดว่า กำลังจะมีสิ่งน่ากลัวเกิดขึ้น

3.อย่าโกหกลูก ถ้าคุณแม่บอกว่า วันนี้จะไม่มีฉีดวัคซีน หรือ บอกว่า ฉีดยาไม่เจ็บเลยแม้แต่น้อย จะทำให้ลูกไม่ไว้ใจคุณอีกต่
อไป ให้พูดว่า “ฉีดยาทำให้เจ็บ แต่แม่จะอยู่กับหนู และความเจ็บจะเป็นไม่นาน” โดยคุณอาจซ้อมเล่นจิกแขนลูกตอนอยู่ที่บ้าน แล้วถามลูกว่ารู้สึกอย่างไร อีก 5 นาทีต่อมาถามลูกอีกครั้งว่ายังเจ็บที่แขนที่ถูกจิกไหมซึ่งจะไม่รู้สึกอะไรอีก แล้วบอกลูกว่า การฉีดยาก็จะเป็นแบบเดียวกันนั่นเอง

4.เล่นสมมติเป็นหมอพยาบาล ทำทุกขั้นตอนเหมือนเวลาไปพบ
แพทย์จริง เช่น การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดไข้ เช็ดตัวเวลามีไข้ อ่านหนังสือเกี่ยวกับการหาหมอ ยิ่งถ้าลูกเอาตุ๊กตาติดมาด้วยเวลามารพ. ให้สมมติฉีดยาตุ๊กตาก่อน จะทำให้เด็กกลุ่มหนึ่งยอมให้ฉีดเหมือนกัน พ่อแม่อาจพูดว่า ทุกคนก็ต้องฉีดวัคซีนเหมือนกัน พ่อกับแม่ก็ฉีด เพื่อให้ร่างกายแข็งแรง ถึงแม้ว่าจะเจ็บตัวก็ไม่นาน

5.เบี่ยงเบนความสนใจขณะกำลั
งฉีดยา วิธีเบี่ยงเบนขึ้นกับอายุ เช่น ถ้าเป็นเด็กไม่เกิน 3 ขวบให้ร้องเพลง เล่าหรืออ่านนิทาน หรือ เล่นของเล่น ถ้าเป็นเด็กโตกว่า 3 ขวบให้ดูคลิปวิดิโอ ดูรูปภาพ หรือ ฟังเพลงจากไอโฟน ควรให้พ่อแม่อุ้มลูกเอาไว้ลูกจะกลัวน้อยกว่าการจับแยกออกไป

6.ทำให้ผิวหนังที่จะฉีดยาชา
ด้วยการวางน้ำแข็งนาน 1 นาที ยิ่งถ้าเย็นบวกกับการสั่นด้วยจะยิ่งทำให้เส้นประสาทบริเวณนั้นสับสนจนไม่รู้สึกเจ็บเหมือนเดิม แต่เด็กบางคนไม่ชอบให้วางน้ำแข็งก็อย่าทำ ส่วนการทายาชาทิ้งไว้ก่อนฉีดยา 1 ชม.ร่วมกับการเบี่ยงเบนความสนใจขณะฉีดยา ก็ได้ผลดีไม่น้อย แต่ทำให้ต้องเสียเวลารอที่รพ.นานขึ้น ยกเว้นทายาชาเตรียมมาจากบ้า

7.เด็กโตหลังฉีดยามักพูดว่า
ไม่เห็นเจ็บเลย แต่พอมาครั้งต่อไป ก็ลืมความรู้สึกนี้ไปแล้ว ก็ร้องไห้ไม่ยอมฉีดยาโดยง่าย วิธีแก้ไข คือ เมื่อกลับถึงบ้านแล้ว ให้ลูกเขียนโน้ตสั้นๆถึงตัวเอง เช่น “จูนที่รัก จดหมายนี้เขียนไว้เพื่อเตือนว่า วันนี้เธอเครียดล่วงหน้าเรื่องฉีดยามากเพียงใด แต่ก็พบว่ามันไม่เจ็บมากอย่างที่คิด จงจำความรู้สึกนี้ไว้สำหรับการฉีดยาครั้งต่อไป ...จาก จูน”

8.หมอบางคนมีสติ๊กเกอร์ หรือ วิตะมินซีไว้แจกหลังฉีดยา เพื่อเป็นรางวัลให้หยุดร้อง
ไห้ แต่บางครั้งคำชมเชยว่า “เก่งมากๆ กล้าหาญจริงๆ” ก็ช่วยได้เช่นกัน หรือ การนำของเล่น หรือ หนังสือที่ชอบเตรียมมาจากบ้าน หรือ การให้ลูกดูดนมเต้า หรือ จุกหลอกทันทีหลังฉีดยา จะทำให้หยุดร้องไห้ได้เร็ว หรือ การพาลูกแวะสนามเด็กเล่นก่อนกลับบ้านเป็นรางวัลพิเศษที่ได้มาฉีดวัคซีน ก็ช่วยให้ลูกมีความสุขมากขึ้นถึงแม้ว่าต้องโดนฉีดยาได้เช่นกัน




18.วัคซีน

ความรู้เรื่องวัคซีนในเด็ก
วัคซีนไข้หวัดใหญ่ควรฉีดหรือไม่
วัคซีนโรคไข้เลือดออก
ลืมฉีดวัคซีนต้องเริ่มต้นใหม่ไหม
เรื่องของวัคซีนคอตีบไอกรนบาดทะยัก