ReadyPlanet.com
ardo calypso
dot
เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ : ข้อควรปฎิบัติ
dot
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 1
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 2
bulletวิธีเลือกกุมารแพทย์ให้ลูก
bulletก่อนคลอด
bulletสิ่งที่ต้องทำเมื่ออยู่ ร.พ.
bulletหลังคลอด
bulletท่าในการให้นม
bulletBreast Crawl
bulletความคาดหวังของลูกน้อย
bulletบันทึกการให้นมลูก
bulletวิธีให้นมเสริมอย่างถูกต้อง
bulletสัมผัสรักระหว่างแม่ลูก
bulletโรงพยาบาลสนับสนุนนมแม่
bulletแบบสอบถาม
dot
ปัญหาเรื่อง นมแม่
dot
bulletวิธีแก้ปัญหานมไม่พอ
bullet"นมแม่" ถ้าเข้าใจ ยังไงก็พอ
bulletนมพอหรือไม่
bulletเมื่อลูกไม่ดูดนมแม่ (new)
bulletอาหารเพิ่มน้ำนม
bulletวิธีเพิ่มน้ำนมด้วยการปั๊มนม
bulletWorkshop เพิ่มน้ำนม (new)
bulletยาประสระน้ำนม
bulletDomperidone (Motilium)
bulletยาเพิ่มน้ำนม Motilium
bulletคำเตือนสำหรับการใช้ยา Domperidone
bulletน้ำหนักตัวเพิ่มช้า
bulletน้ำหนักตัวน้อย
bulletเจ็บหน้าอก หัวนมแตก
bulletการบีบหน้าอก ช่วยลูกดูดนม
bulletลูกแพ้นมแม่หรือเปล่า
bulletตัวเหลือง
bulletสารพันปัญหา
บริจาคนมแม่
dot
เมื่อแม่ต้องไปทำงาน
dot
bullet20 เคล็ดลับสำหรับแม่ทำงาน
bulletมาทำ stock น้ำนม กันเถอะ
bulletวิธีให้ลูกยอมดูดนมแม่จากขวด
bulletจะให้ลูกกินอะไรเมื่อแม่ไปทำงาน
bulletวิธีเก็บรักษานมแม่
bulletต้องเตรียมปั๊มนมไว้ให้ลูกแค่ไหนถึงจะพอดี ?
bulletโปรแกรมคำนวณนมแม่
bulletยาคุมกำเนิด
dot
คุณแม่นักปั๊ม
dot
bulletการปั๊มนมโดยใช้เครื่องปั๊มนม
bulletปั๊มนมอย่างไรให้พอ หากลูกไม่ดูดจากเต้า
bulletข้อคิดก่อนซื้อ ที่ปั๊มนม
bulletเพิ่มน้ำนมภายใน 14 วันแรก
bulletเครื่องปั๊มนมยี่ห้อไหนดี
bulletซื้อเครื่องปั๊มที่ไหนดี
bulletปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี
bulletเรื่องของคุณแม่นักปั๊ม
bulletถุงเก็บน้ำนมแม่
dot
กลเม็ดเคล็ดลับ
dot
bulletวิธีบีบน้ำนมด้วยมือ (new)
bulletบีบด้วยมือ vs ปั๊มด้วยเครื่อง
bullet10 เคล็ดลับเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้ครบปี
bulletนอนให้นม...สบายมากๆ เลย
bulletอุปกรณ์เสริม ช่วยแม่ให้นมลูก
bulletมุมให้นมแม่
bulletวิธีพาสเจอร์ไรซ์นมแม่
dot
ปัญหาที่พบไม่บ่อย
dot
bulletลิ้นติด (Tongue Tie)
bulletเลี้ยงลูกแฝดด้วยนมแม่
bulletต้องการถามปัญหาอื่นๆ
bulletทำไมทารกร้องไห้โยเย
dot
หนังสือแนะนำ
dot
bulletขอรับหนังสือนมแม่ฟรี
bulletการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletสร้างชีวิตมหัศจรรย์ด้วยน้ำนมแม่
bulletนมแม่ ทุนสมองของลูกรัก
bullet เคล็ดลับ...แม่มือใหม่ "นมแม่"
bulletเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletพัฒนาสมองด้วยนมแม่...
bulletGuide to Breastfeeding
dot
แหล่งข้อมูลความรู้เรื่องนมแม่
dot
bulletคลินิกนมแม่ทั่วประเทศ
bulletนมแม่ แน่ที่สุด
bulletศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย
bulletคลีนิครัก
bulletศริริราชออนไลน์
bulletสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ
bulletwww.breastfeeding.com
bulletPromom
bulletรักลูก
bulletLa Leche League
bullet4woman
bulletMother & Child Health
bulletWABA
bulletBreastfeedingonline
bulletDr. Sears
bulletbreastfeedingbasics
bulletwebboard
bulletkellymom
bulletDr. Jack Newman
bulletInfact
bulletgotbreastpump
bulletNew Beginnings
bulletโครงการสายใยรัก
bulletศูนย์ข้อมูล สสส
bulletUNICEF
bulletbreastfeedingmadesimple
bullethm4hb
bulletLactation Narration
bulletNormalFed
dot
Brainfeeding
dot
bulletเก็บมาฝาก
bulletIf we don't care, who will?
bullet๖๐ เรื่องน่ารู้ ในหลวงของเรา
bulletสัมภาษณ์ ดร. อาจอง ชุมสาย ฯ
bulletคนดีของพ่อ
bulletเรื่องที่ไม่มีใครอยากให้รู้
bulletคุยกับประภาส
dot
Sponsor Link
dot
bulletbfdcenter
bulletร้านนมแม่
bulletศูนย์รวมฟิล์มทุกชนิด
bulletV-Kool
bulletSuvarnabhumi Airport Hostel
bulletBussaba Bangkok Boutique Hotel Suvarnabhumi Airport
bulletbeing-mom
bulletมีลูกยาก
bulletSite Map
ปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี whisper
unimom allegro
ardo calypso
Ardo Carum
bulletนมแม่


ร้านนมแม่-เครื่องปั๊มนม


วิธีเลือกซื้อเครื่องปั๊มนม

 บทความโดย พญ.สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ https://www.doctorbreastfeeding.com/

1.แบบปั๊มมือ ข้อดี คือ ปรับความแรงได้ตามแรงบีบของมือ ราคา ย่อมเยา เหมาะสําหรับคุณแม่ที่อยู่บ้านเลี้ยงลูกเอง สามารถเอาลูกเข้าเต้า ได้ตลอดเวลาที่ลูกต้องการ จึงไม่จําเป็นต้องปั๊มนมเก็บไว้เยอะแยะ แต่อาจมีสะสมไว้ในตู้เย็นบ้างกันเหนียว เวลาที่คุณแม่ต้องไปทําธุระนอกบ้าน ข้อเสีย คือ ต้องใช้มือบีบ ทําให้เมื่อยมือได้ การปั๊มได้ทีละข้างทําให้เสียเวลามากกว่าการปั๊มพร้อมกัน 2 ข้าง หากจะปั๊มมือไปด้วย โดยให้ลูกดูดอีกข้างหนึ่ง ไปด้วย หากเป็นแบบปั๊มมือจะทําได้ยาก เพราะไม่มีมือว่างพอที่จะใช้อุ้มลูก ไม่เหมือนกับการใช้เครื่องปั๊มอัตโนมัติ จะมีมือว่างอุ้มลูกได้อีกข้างหนึ่ง

2.แบบแบตเตอรี่อัตโนมัติ ปั๊มได้ทีละข้าง ไม่ต้องเมื่อยมือในการ บีบที่ปั๊ม แต่เสียงดังพอสมควรหากปั๊มก
ลางดึกอาจมีเสียงดังรบกวนคล้ายเสียงเรือหางยาว และมี 3 ระดับความแรงก็จริง แต่พบว่าแรงเท่ากันทุกระดับ ซึ่งแรงมากพอสมควร หากเป็นคุณแม่ที่ไม่เคยใช้เครื่องปั๊มมาก่อน อาจรู้สึกเจ็บได้ แต่หากใช้มานานแล้วจะไม่รู้สึกเจ็บ เพราะชินแล้ว และมักรู้สึกว่าแรงสะใจดี โดยเฉพาะหากปั๊มพร้อมกับที่ลูกดูดอีกข้างหนึ่ง จะได้น้ํานมออกมาอย่างรวดเร็ว แต่หากไม่ได้ปั๊มขณะลูกดูดไปพร้อมกัน โดยทําการปั๊มทีละข้าง จะได้น้ํานมช้า และอีกข้างหนึ่งซึ่งไม่ได้ปั๊มจะมีน้ํานมไหลหยดเลอะเทอะได้

3.แบบไฟฟ้า บางยี่ห้อมีขนาดใหญ่ เหมาะสําหรับใช้ในโรงพยาบาล
 เพราะทนทาน แต่ต้องเสียบปลั๊กไฟ บางยี่ห้อมีแบบแบตเตอรี่ในตัวพกพาได้สะดวก ปรับระดับความแรงในการปั๊มเบาหนักได้ เสียงไม่ดังรบกวน สามารถปั๊มได้พร้อมกัน 2 ข้าง ช่วยประหยัดเวลาการปั๊ม เสียเวลาปั๊มพร้อมกัน 2 ข้างนาน 10 นาที จะได้ปริมาณน้ํานมเท่ากับการปั๊มนมทีละข้างนาน 30 นาที ทําให้มีเวลาเหลือไปทํางานอย่างอื่น หรือพักผ่อนได้มากขึ้น ถ้ากลับไปทํางานแล้ว การปั๊มนมพร้อมกัน 2 ข้างจะช่วยให้ไม่เสียเวลาปั๊มนาน ทําให้ไม่เป็นอุปสรรคในการทํางาน ไม่ถูกคนอื่นกล่าวหาว่าเบียดบังเวลาไปปั๊มนมครั้งละนานๆ จะทําให้มีผลต่อการปรับเงินเดือน หรือการได้รับโบนัส หรือ การได้รับการโปรโมทในหน้าที่การงาน ข้อเสีย คือราคาเครื่องเป็นหลักหลายพันจนถึง หลักหมื่น ทําให้คุณแม่หลายคนไม่กล้าลงทุนซื้อเครื่องปั๊มแบบไฟฟ้า เพราะเกรงว่าจะไม่คุ้มค่าหากปั๊มนมได้น้อย เพราะไม่รู้วิธีปั๊มนมให้ได้มากๆ (หาความรู้ได้จากเว็บไซต์ศูนย์นมแม่) 

แต่ความเป็นจริงคือราคานมผง
แพง กว่าหากต้องเสียเงินซื้อนมผงเป็นปีๆ และยังต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคเนื่องจากเจ็บป่วยบ่อย

#ข้อควรระวังในการใชเ้ครื่องปั๊ม 

หากแรงปั๊มไม่เหมาะสม แรงเกินไปจะทําให้หัวนมแตก ถ้าเบาเกินไป จะทําใหน้ำนมไม่เกลี้ยงเต้า
 มีปัญหาท่อน้ำนมอุดตัน

ใช้คุ้มค่าราคาหรือไม่ ถ้าขยันปั๊มทําให้มีนมสะสมเ
ก็บไว้ใช้ได้นาน เมื่อเปรียบเทียบกับค่านมผง เดือนละ 3-5 พันบาทหรือมากกว่า หากแพ้นมสูตรปกติ หรือค่ารักษาเวลา ลูกป่วย ค่านอนโรงพยาบาล ค่าแพทย์ ค่ายา แต่ถ้าซื้อเครื่องมาแล้ว ไม่ค่อยได้ใช้ก็เสียเงินเปล่า 

อย่าลืมว่า การปั๊มนมไม่ได้มาแทนการดูด
 โดยตรงจากเต้า เพราะการดูดจากเต้าโดยตรง นอกจากจะได้รับน้ํานม แล้ว ยังเป็นการกระตุ้นพัฒนาการและเป็นการสร้างความสัมพันธ์ทางใจ ระหว่างแม่ลูกจากการโอบกอด สัมผัส สบตา และพูดคุยกันไปด้วย 

เครื่องปั๊มนมเป็นเพียงสิ่ง
ที่นํามากระตุ้นการสร้างน้ํานมให้เพิ่มขึ้น เพราะหลักการสร้างน้ํานมคือ ยิ่งเอาออก ยิ่งสร้างเพิ่ม เช่น ลูกดูดวันละ 8 ครั้ง ถ้าได้ปั๊มพร้อมลูกดูด หรือปั๊มหลังจากลูกดูดจะเป็นการบอกร่างกายให้สร้างน้ํานมเพิ่มและนมที่ปั๊มได้จะเก็บสะสมไว้ใช้เมื่อแม่ต้องกลับไปทํางานนอกบ้าน

เสียเวลาในการปั๊มนมนานไหม เป็นสิ่งที่น่าเบื่อหรือไม่
ซึ่งแก้ไขโดยการปั๊มพร้อมกัน 2 ข้าง หรือปั๊มพร้อมกับให้ลูกดูด หรือใช้วิธีปั๊มไปด้วย ทํากิจกรรมอื่นไปด้วย เช่น อ่านหนังสือ คุยโทรศัพท์ เล่นเน็ต ทํางานอื่นไปด้วย ระวังการที่คุณแม่มัวแต่ปั๊มนมจนไม่ได้เอาลูกเข้าเต้า หรือไม่มีเวลาเล่นกับลูก 

เครื่องปั๊มนมอาจทำให้คุณแม
่เข้าใจผิด เห็นว่าปั๊มนมออกมาได้แค่ 1-2 ออนซ์ จะ เข้าใจว่าลูกดูดนมจากเต้าได้เท่าๆกัน ทําใหเ้กิดความเครียดว่าผลิตน้ํานมได้น้อย ความจริง คือ เครื่องปั๊มนมไม่ได้บอกปริมาณน้ํานมที่แท้จริงในเต้าหรือปริมาณที่ลูกกินเข้าไป ให้ดูว่าลูกได้นมพอจากจำนวนอึฉี่

#การฝึกบีบด้วยมือ เป็นวิธีที่ดี เพราะคุณแม่สามารถทําได้ทุกที่ โดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์ใดๆ เพียงแต่ฝึกฝนบ่อยๆ จะเกิดความชํานาญ มีคุณแม่บางท่านลองใช้เครื่องปั๊มนมที่เขาว่าดีที่สุดแล้ว แต่ปรากฏว่าปั๊มไม่ออก แต่พอใช้มือบีบ พบว่าออกดีมาก ป้าหมอเองบางครั้งออกไปประชุมนอกสถานที่นานเกิน 3 ชั่วโมง ไม่ได้เตรียมที่ปั๊มนมไปก็ต้องเข้าห้องน้ําเพื่อบีบน้ํานมออกเป็นการระบายออกเพราะหากทิ้งไว้นานเกินไป จะทําให้เกิดปัญหาท่อน้ํานมอุดตันและทําให้การสร้างน้ํานมลดลง ดังนั้นหากคุณแม่บีบมือเป็นจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
ดูวิธีบีบนมด้วยมือจากลิ้งค
์นีค่ะ
http://www.youtube.com/watch?v=0SNwrLPH_lo




13.การปั๊มนม, นมสต๊อก

สต๊อกนมแม่ ถ้าใครมีเก็บเอาไว้บ้าง ก็ไม่เสียหายอะไรค่ะ
สต๊อกนมของน้องภูดิศ สกิดใจ
คุณแม่ผู้บริจาคน้ำนมแม่มากที่สุดในโลก
แม่ทำงานนอกบ้าน ปั๊มนม อย่างไรให้พอเลี้ยงลูกได้นานๆ
นมสต๊อก ควรมีมากน้อยเพียงใด
ปั๊มนมอย่างไรให้ได้นมเพียงพอ
นมแม่แช่แข็ง เก็บได้นานเพียงใด ????
กินนมแม่เย็น หรือ อุ่น ดีกว่ากัน
ลูกติดนิสัยชอบกินนมแม่อุ่นๆ และจะไม่ยอมกินถ้านมนั้นไม่ได้รับการอุ่นให้ร้อน
ปั๊มนมสองข้างได้ไม่เท่ากัน/ลูกถนัดดูดข้างหนึ่งมากกว่าอีกข้างหนึ่ง
ว่าด้วยเรื่องเครื่องป๊ัมนม มี 3 ระบบ คือ
วิธีปั๊มนมสองข้างโดยใช้แขนข้างเดียว
วิธีปั๊มนมสองข้างโดยไม่ต้องใช้มือจับ
วิธีใช้นมสต๊อก ถ้าลูกไม่ยอมกิน เอามาทำอย่างไรได้บ้าง
เอานมแม่ไปกินที่โรงเรียน
ลูกไม่กินนมสต๊อก ทำอย่างไรดี
วิธีนำนมแม่สต๊อกมาให้ลูกกิน
นมแม่แยกชั้น ไม่เสียนะคะ
ปั๊มนมมีเลือดปนแบบนี้ เกิดจากอะไรคะ
วิธีปั๊มนม เพื่อทำสต๊อก เป็นคลิปวิดิโอค่ะ
ลูกคนโต กินนมแม่สต๊อกอย่างเอร็ดอร่อย
ลูกไม่ยอมกินนมสต๊อก ทำไงดีคะ
นมแม่แช่แข็ง เก็บได้นานเพียงใด
ปั๊มนมให้ได้เยอะๆ ต้องปั๊มบ่อยๆและตื่นมาปั๊มตี 3
ถุงเก็บนมแบบไหนดี
ไม่ได้อยู่กับลูกทุกวัน ก็เลี้ยงด้วยนมแม่ได้ค่ะ
เครื่องปั๊มนมแบบไหนดีคะ
หากลูกไม่ดูดเต้า แต่คุณแม่ปั๊มนมให้ลูกกิน จะได้ประโยชน์เหมือนกับการดูดเต้าไหม
แม่ทำงานนอกบ้านปั๊มนมอย่างไรให้พอเลี้ยงลูกได้นานๆ
ทำไมแต่ละคนปั๊มนมได้ไม่เท่ากัน