ReadyPlanet.com
ardo calypso
dot
เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ : ข้อควรปฎิบัติ
dot
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 1
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 2
bulletวิธีเลือกกุมารแพทย์ให้ลูก
bulletก่อนคลอด
bulletสิ่งที่ต้องทำเมื่ออยู่ ร.พ.
bulletหลังคลอด
bulletท่าในการให้นม
bulletBreast Crawl
bulletความคาดหวังของลูกน้อย
bulletบันทึกการให้นมลูก
bulletวิธีให้นมเสริมอย่างถูกต้อง
bulletสัมผัสรักระหว่างแม่ลูก
bulletโรงพยาบาลสนับสนุนนมแม่
bulletแบบสอบถาม
dot
ปัญหาเรื่อง นมแม่
dot
bulletวิธีแก้ปัญหานมไม่พอ
bullet"นมแม่" ถ้าเข้าใจ ยังไงก็พอ
bulletนมพอหรือไม่
bulletเมื่อลูกไม่ดูดนมแม่ (new)
bulletอาหารเพิ่มน้ำนม
bulletวิธีเพิ่มน้ำนมด้วยการปั๊มนม
bulletWorkshop เพิ่มน้ำนม (new)
bulletยาประสระน้ำนม
bulletDomperidone (Motilium)
bulletยาเพิ่มน้ำนม Motilium
bulletคำเตือนสำหรับการใช้ยา Domperidone
bulletน้ำหนักตัวเพิ่มช้า
bulletน้ำหนักตัวน้อย
bulletเจ็บหน้าอก หัวนมแตก
bulletการบีบหน้าอก ช่วยลูกดูดนม
bulletลูกแพ้นมแม่หรือเปล่า
bulletตัวเหลือง
bulletสารพันปัญหา
บริจาคนมแม่
dot
เมื่อแม่ต้องไปทำงาน
dot
bullet20 เคล็ดลับสำหรับแม่ทำงาน
bulletมาทำ stock น้ำนม กันเถอะ
bulletวิธีให้ลูกยอมดูดนมแม่จากขวด
bulletจะให้ลูกกินอะไรเมื่อแม่ไปทำงาน
bulletวิธีเก็บรักษานมแม่
bulletต้องเตรียมปั๊มนมไว้ให้ลูกแค่ไหนถึงจะพอดี ?
bulletโปรแกรมคำนวณนมแม่
bulletยาคุมกำเนิด
dot
คุณแม่นักปั๊ม
dot
bulletการปั๊มนมโดยใช้เครื่องปั๊มนม
bulletปั๊มนมอย่างไรให้พอ หากลูกไม่ดูดจากเต้า
bulletข้อคิดก่อนซื้อ ที่ปั๊มนม
bulletเพิ่มน้ำนมภายใน 14 วันแรก
bulletเครื่องปั๊มนมยี่ห้อไหนดี
bulletซื้อเครื่องปั๊มที่ไหนดี
bulletปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี
bulletเรื่องของคุณแม่นักปั๊ม
bulletถุงเก็บน้ำนมแม่
dot
กลเม็ดเคล็ดลับ
dot
bulletวิธีบีบน้ำนมด้วยมือ (new)
bulletบีบด้วยมือ vs ปั๊มด้วยเครื่อง
bullet10 เคล็ดลับเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้ครบปี
bulletนอนให้นม...สบายมากๆ เลย
bulletอุปกรณ์เสริม ช่วยแม่ให้นมลูก
bulletมุมให้นมแม่
bulletวิธีพาสเจอร์ไรซ์นมแม่
dot
ปัญหาที่พบไม่บ่อย
dot
bulletลิ้นติด (Tongue Tie)
bulletเลี้ยงลูกแฝดด้วยนมแม่
bulletต้องการถามปัญหาอื่นๆ
bulletทำไมทารกร้องไห้โยเย
dot
หนังสือแนะนำ
dot
bulletขอรับหนังสือนมแม่ฟรี
bulletการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletสร้างชีวิตมหัศจรรย์ด้วยน้ำนมแม่
bulletนมแม่ ทุนสมองของลูกรัก
bullet เคล็ดลับ...แม่มือใหม่ "นมแม่"
bulletเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletพัฒนาสมองด้วยนมแม่...
bulletGuide to Breastfeeding
dot
แหล่งข้อมูลความรู้เรื่องนมแม่
dot
bulletคลินิกนมแม่ทั่วประเทศ
bulletนมแม่ แน่ที่สุด
bulletศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย
bulletคลีนิครัก
bulletศริริราชออนไลน์
bulletสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ
bulletwww.breastfeeding.com
bulletPromom
bulletรักลูก
bulletLa Leche League
bullet4woman
bulletMother & Child Health
bulletWABA
bulletBreastfeedingonline
bulletDr. Sears
bulletbreastfeedingbasics
bulletwebboard
bulletkellymom
bulletDr. Jack Newman
bulletInfact
bulletgotbreastpump
bulletNew Beginnings
bulletโครงการสายใยรัก
bulletศูนย์ข้อมูล สสส
bulletUNICEF
bulletbreastfeedingmadesimple
bullethm4hb
bulletLactation Narration
bulletNormalFed
dot
Brainfeeding
dot
bulletเก็บมาฝาก
bulletIf we don't care, who will?
bullet๖๐ เรื่องน่ารู้ ในหลวงของเรา
bulletสัมภาษณ์ ดร. อาจอง ชุมสาย ฯ
bulletคนดีของพ่อ
bulletเรื่องที่ไม่มีใครอยากให้รู้
bulletคุยกับประภาส
dot
Sponsor Link
dot
bulletbfdcenter
bulletร้านนมแม่
bulletศูนย์รวมฟิล์มทุกชนิด
bulletV-Kool
bulletSuvarnabhumi Airport Hostel
bulletBussaba Bangkok Boutique Hotel Suvarnabhumi Airport
bulletbeing-mom
bulletมีลูกยาก
bulletSite Map
ปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี whisper
unimom allegro
ardo calypso
Ardo Carum
bulletนมแม่


ร้านนมแม่-เครื่องปั๊มนม


โรคไวรัสละกระเพาะและท้องร่วง

 บทความโดย พญ.สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ https://www.doctorbreastfeeding.com/

 

โรคไวรัสลงกระเพาะในเด็กเป็นอันตรายมากน้อยเพียงใด มีวิธีป้องกันและรักษาอย่างไรบ้างคะ

โรคไวรัสลงกระเพาะและลำไส้ (viral gastroenteritis) เกิดจากเชื้อไวรัสซึ่งมีหลายสายพันธุ์ที่ทำให้เกิดโรค ที่สำคัญและเป็นที่รู้จักกันมาก คือ เชื้อโรต้าไวรัส 
การติดต่อของเชื้อไวรัส เกิดจากการสัมผัสกับสารคัดห
ลั่ง เช่น น้ำมูก น้ำลาย อุจจาระ จากการคลุกคลีกับผู้ป่วยโดยตรงหรือการสัมผัสสิ่งของที่มีเชื้ออยู่แล้วเอามือเข้าปาก 
ระยะฟักตัวหลังการสัมผัสโรค
จนแสดงอาการอาจใช้เวลาสั้นเพียงไม่กี่ชั่วโมงจนถึง 2 วัน เริ่มจากอาการปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ซึ่งเป็นนานประมาณ 1-5 วัน ต่อมาอาจมีถ่ายเหลว ซึ่งอาจเป็นอยู่ 2-3 วันหรือนานเป็นสัปดาห์ มักถ่ายเป็นน้ำ พบไม่มากที่อุจจาระอาจมีมูกเลือด มีไข้ต่ำๆหรือไข้สูงก็ได้ 
การนำอุจจาระมาให้หมอดูหรือ
ส่งตรวจ อาจช่วยในการวินิจฉัย คือ หากตรวจพบเม็ดเลือดขาว และเม็ดเลือดแดงจากการส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์ ส่วนใหญ่เป็นการติดเชื้อแบคทีเรีย หากตรวจไม่พบ อาจเป็นเชื้อไวรัสมากกว่า รพ.บางแห่งอาจมีวิธีตรวจที่จำเพาะกับเชื้อไวรัสโรต้า ทำให้ทราบข้อมูลละเอียดขึ้น เป็นประโยชน์ทางระบาดวิทยา หมออาจส่งอุจจาระเพาะเชื้อเพื่อช่วยในการรักษาในกรณีที่ไม่ดีขึ้นด้วยการรักษาเบื้องต้น จะได้ให้ยาได้ถูกต้อง 
ในรายที่มีอาการอาเจียนหรือ
ถ่ายเหลวรุนแรง มีอาการปวดท้องมาก หมอจะทำการตรวจร่างกายอย่างละเอียด เพื่อดูว่าอาจเป็นโรคอื่นที่มีอาการคล้ายกันหรือไม่ เช่น โรคไส้ติ่งอักเสบ โรคลำไส้อุดตัน โรคลำไส้กลืนกัน โรคแพ้นมวัว เป็นต้น

ทำอย่างไรเมื่อลูกป่วย
การดูแลเบื้องต้น คือ การให้ยาระงับอาการ เช่น ยาลดไข้ ยาแก้อาเจียน ยาแก้ปวดท้อง ยาขับลม
ยาแก้อาเจียน คือ Domperidone หรือ Motilium ขนาดยา คือ ครึ่งช้อนชา (2.5 ซีซี) ต่อน้ำหนักตัว 10 กก. ทานก่อนอาหารครึ่งชม. วันละ 3-4 ครั้ง ไม่ควรทานยาแล้วทานอาหารทัน
ทีเพราะอาจอาเจียนได้อีก เนื่องจากยายังไม่ได้ดูดซึมเข้าร่างกาย 
ยาแก้ปวดท้อง คือ Berclomine ให้ในรายที่มีอาการปวดเกร็ง
 ปวดบิด ขนาดยา เหมือนยาแก้อาเจียน แต่ทานหลังอาหาร
ยาขับลม คือ Simethicone แก้ท้องอืด ลดแก๊ส ทานครั้งละ 0.5-1 ซีซี ทุก 2-4 ชม
ให้อาหารอ่อนย่อยง่าย ครั้งละน้อยๆ เช่น ข้าวต้มครั้งละ 5-6 คำ แต่ให้บ่อยๆ ไม่เลี่ยนมัน ชงนมจางกว่าปกติให้ดื่มครั้
งละไม่เกินครึ่งหนึ่งของปริมาณปกติ เพื่อไม่ให้ลำไส้ทำงานหนัก
ให้จิบน้ำเกลือแร่ ORS เพื่อทดแทนของเหลวที่เสียไป
จะได้ไม่มีอาการอ่อนเพลียจากเสียสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย ไม่ให้น้ำหวาน น้ำอัดลมหรือน้ำเกลือแร่สำหรับผู้เสียเหงื่อจากการเล่นกีฬาเนื่องจากความเข้มข้นของน้ำตาลที่มากเกินไป จะทำให้ท้องเสียมากขึ้น เนื่องจากน้ำตาลที่ระดับความเข้มข้นไม่เหมาะสมจะดึงน้ำออกจากเซลเยื่อบุลำไส้มากขึ้น
งดของแสลงเวลาที่ท้องเสียจน
กว่าอาการจะดีขึ้น เช่น ผัก ผลไม้ ไข่ นมวัว เปลี่ยนเป็นนมถั่วเหลือง หรือ นมวัวสูตรพิเศษที่ไม่มีน้ำตาลแลคโตส หากลูกไม่ยอมเปลี่ยนนม อาจลองชงนมเดิมที่กินอยู่แต่ให้เจือจางกว่าปกติเท่าตัว (แต่มักหายช้ากว่าเปลี่ยนเป็นนมที่ไม่มีน้ำตาลแลคโตส) สำหรับเด็กที่กินอาหารเสริมแล้ว หากชงนมวัวเจือจางแล้วยังมีอาการถ่ายเหลวไม่หยุด แต่ไม่ยอมทานนมถั่ว ให้เน้นทานข้าวต้ม หรือโจ๊กใส่เนื้อสัตว์เล็กและกินน้ำข้าวต้มใส่เกลือเล็กน้อย แล้วงดนมวัวไปได้เลย และเมื่ออาการดีขึ้นต้องค่อยๆกลับไปทานอาหารตามปกติ อย่ารีบร้อนเปลี่ยนกลับทันทีเพราะอาจกลับไปท้องเสียใหม่ได้ ในกรณีที่ลูกดูดนมแม่ สามารถให้ได้ตามปกติ ไม่ต้องงดค่ะ ยกเว้นถ่ายบ่อยกว่า 5 ครั้ง/วัน ให้ปั๊มนมส่วนต้นเก็บ ให้ลูกกินนมส่วนท้าย เพื่อลดปริมาณน้ำตาลแลคโตส
คอยระวังก้นแดงจากการถ่ายบ่
อย ต้องคอยเปลี่ยนผ้าอ้อมทันที อย่าแช่นาน และควรพาไปล้างก้นที่อ่างด้วยน้ำธรรมดา ไม่ต้องอุ่นและไม่ต้องใช้สบู่ เพราะจะทำให้ผิวหนังแห้งเป็นผื่นง่าย ไม่ควรใช้สำลีชุบน้ำหรือกระดาษเปียกเช็ดเพราะไม่สะอาดหมดจดและทำให้ผิวหนังถลอก อาจทาวาสลีนหรือปิโตรเลียมเจลเคลือบผิวบริเวณก้น เพื่อช่วยบรรเทาการระคายเคืองจากเศษอุจจาระจะช่วยป้องกันไม่ให้ก้นแดงได้ หากมีปัญหาผื่นแดงขึ้นแล้วให้ทาครีมทาผื่นผ้าอ้อมทาบ่อยๆ และไม่ใส่ผ้าอ้อมเพื่อให้ผิวหนังโดนอากาศจะได้หายเร็วขึ้น หากทายาผื่นผ้าอ้อมแล้วยังไม่ดีขึ้น อาจเป็นเพราะติดเชื้อรา ให้ใช้ยากำจัดเชื้อรา เช่น Clotrimazole cream
ห้ามให้ยาหยุดถ่ายในเด็ก เพราะทำให้เชื้อโรคคั่งในร่
างกายจนเป็นอันตราย หรือจะมีอาการปวดมวนท้องมากขึ้น
ควรพาลูกพบหมอ เมื่อลูกมีอาการดังนี้
ลูกยังอาเจียนอยู่ทั้งที่ทา
นยาแก้อาเจียนแล้ว 
ไม่อาเจียนแล้ว แต่ก็ทานอะไรไม่ได้เลย ซึมลง อ่อนเพลียมาก 
มีอาการของการขาดน้ำและปัสส
าวะออกน้อย
ถ่ายอุจจาระมีมูกเลือด หรือกลิ่นแรงเหม็นคาว หรือถ่ายรุนแรงมากเป็นน้ำตล
อดเวลา ควรนำอุจจาระไปโรงพยาบาลด้วย เพื่อส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการและเพาะเชื้อ

การรักษา
หมอจะฉีดยาแก้อาเจียนเข้ากล
้ามเนื้อต้นขาหรือสะโพก แล้วสังเกตอาการประมาณครึ่งชม. แล้วให้ลองจิบน้ำ ถ้าไม่มีอาเจียนอีก ให้กลับไปดูอาการต่อที่บ้านได้ ยาฉีดจะออกฤทธิ์นาน 6 ชม.เมื่อใกล้หมดฤทธิ์ยาฉีด ให้ยาแก้อาเจียนทานต่อเนื่องอีกประมาณ 1-2 วัน แต่ถ้าฉีดยาแล้วยังมีอาเจียนอีกหรือไม่อาเจียนแล้วแต่ไม่ยอมทานอะไรเลย หมอจะรับตัวไว้ในโรงพยาบาลเพื่อให้น้ำเกลือทางเส้นเลือด เพื่อแก้ไขภาวะขาดน้ำและพลังงาน
หมอจะตรวจปัสสาวะเพื่อประเม
ินภาวะขาดน้ำและพลังงาน หากพบว่ามีภาวะขาดน้ำและพลังงานขั้นรุนแรง จะรับตัวไว้ในโรงพยาบาล 
หมออาจสั่งยา Infloran ซึ่งเป็นเชื้อ Lactobacilli ช่วยปรับสภาพลำไส้ ในกรณีที่มีภาวะท้องเสียเรื
้อรังเนื่องจากการดูดซึมบกพร่อง

การป้องกัน
• ล้างมือให้สะอาดก่อนหยิบอาห
ารเข้าปาก
• ทานแต่อาหารที่ปรุงสุก ไม่มีแมลงวันตอม 
• หลีกเลี่ยงการใกล้ชิดหรือสั
มผัสสารคัดหลั่งจากผู้เป็นโรคและล้างมือทุกครั้งหลังสัมผัสโรค
• ในปัจจุบันมีวัคซีนป้องกันไ
วรัสโรต้าซึ่งเป็นสาเหตุที่พบบ่อยของโรคนี้ในเด็กเล็ก เป็นวัคซีนชนิดรับประทาน
• ให้ลูกดื่มนมแม่ เพราะในนมแม่มีสารต้านไวรัส
และแบคทีเรีย รวมถึงลดโอกาสการปนเปื้อนจา
กภาชนะที่ไม่สะอาด
 
 
 
 



20.โรคต่างๆ

ช่วงนี้โรคกระเพาะอาหารและสำไส้อักเสบ
โรคมือ-เท้า-ปาก
โรคหัดกุหลาบ
โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ
โรคอกบุ๋มต้องรักษาหรือไม่ & ทำอย่างไร
โรคคาวาซากิคืออะไร
กลุ่มอาการดาวน์ซินโดรม
ลูกเป็นแผลร้อนในเกิดจากอะไร
หวัดเรื้อรังเกิดจากอะไร
อาการปวดขาในเด็กเกิดจากอะไร
ไอเฉพาะกลางคืน กลางวันดูปกติดี
ต่อมทอนซิล & ต่อมอดีนอยด์โตจำเป็นต้องผ่าตัดหรือไม่
กระดูกข้อศอกเคลื่อนในเด็ก
โรคฮิตของเด็กยุคใหม่ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง
โรคขาดฮอร์โมนธัยรอยด์แต่กำเนิด
ปัญหาฟันผุ
รังสีโทรทัศน์ VS สมองเสื่อม