ReadyPlanet.com
ardo calypso
dot
เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ : ข้อควรปฎิบัติ
dot
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 1
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 2
bulletวิธีเลือกกุมารแพทย์ให้ลูก
bulletก่อนคลอด
bulletสิ่งที่ต้องทำเมื่ออยู่ ร.พ.
bulletหลังคลอด
bulletท่าในการให้นม
bulletBreast Crawl
bulletความคาดหวังของลูกน้อย
bulletบันทึกการให้นมลูก
bulletวิธีให้นมเสริมอย่างถูกต้อง
bulletสัมผัสรักระหว่างแม่ลูก
bulletโรงพยาบาลสนับสนุนนมแม่
bulletแบบสอบถาม
dot
ปัญหาเรื่อง นมแม่
dot
bulletวิธีแก้ปัญหานมไม่พอ
bullet"นมแม่" ถ้าเข้าใจ ยังไงก็พอ
bulletนมพอหรือไม่
bulletเมื่อลูกไม่ดูดนมแม่ (new)
bulletอาหารเพิ่มน้ำนม
bulletวิธีเพิ่มน้ำนมด้วยการปั๊มนม
bulletWorkshop เพิ่มน้ำนม (new)
bulletยาประสระน้ำนม
bulletDomperidone (Motilium)
bulletยาเพิ่มน้ำนม Motilium
bulletคำเตือนสำหรับการใช้ยา Domperidone
bulletน้ำหนักตัวเพิ่มช้า
bulletน้ำหนักตัวน้อย
bulletเจ็บหน้าอก หัวนมแตก
bulletการบีบหน้าอก ช่วยลูกดูดนม
bulletลูกแพ้นมแม่หรือเปล่า
bulletตัวเหลือง
bulletสารพันปัญหา
บริจาคนมแม่
dot
เมื่อแม่ต้องไปทำงาน
dot
bullet20 เคล็ดลับสำหรับแม่ทำงาน
bulletมาทำ stock น้ำนม กันเถอะ
bulletวิธีให้ลูกยอมดูดนมแม่จากขวด
bulletจะให้ลูกกินอะไรเมื่อแม่ไปทำงาน
bulletวิธีเก็บรักษานมแม่
bulletต้องเตรียมปั๊มนมไว้ให้ลูกแค่ไหนถึงจะพอดี ?
bulletโปรแกรมคำนวณนมแม่
bulletยาคุมกำเนิด
dot
คุณแม่นักปั๊ม
dot
bulletการปั๊มนมโดยใช้เครื่องปั๊มนม
bulletปั๊มนมอย่างไรให้พอ หากลูกไม่ดูดจากเต้า
bulletข้อคิดก่อนซื้อ ที่ปั๊มนม
bulletเพิ่มน้ำนมภายใน 14 วันแรก
bulletเครื่องปั๊มนมยี่ห้อไหนดี
bulletซื้อเครื่องปั๊มที่ไหนดี
bulletปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี
bulletเรื่องของคุณแม่นักปั๊ม
bulletถุงเก็บน้ำนมแม่
dot
กลเม็ดเคล็ดลับ
dot
bulletวิธีบีบน้ำนมด้วยมือ (new)
bulletบีบด้วยมือ vs ปั๊มด้วยเครื่อง
bullet10 เคล็ดลับเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้ครบปี
bulletนอนให้นม...สบายมากๆ เลย
bulletอุปกรณ์เสริม ช่วยแม่ให้นมลูก
bulletมุมให้นมแม่
bulletวิธีพาสเจอร์ไรซ์นมแม่
dot
ปัญหาที่พบไม่บ่อย
dot
bulletลิ้นติด (Tongue Tie)
bulletเลี้ยงลูกแฝดด้วยนมแม่
bulletต้องการถามปัญหาอื่นๆ
bulletทำไมทารกร้องไห้โยเย
dot
หนังสือแนะนำ
dot
bulletขอรับหนังสือนมแม่ฟรี
bulletการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletสร้างชีวิตมหัศจรรย์ด้วยน้ำนมแม่
bulletนมแม่ ทุนสมองของลูกรัก
bullet เคล็ดลับ...แม่มือใหม่ "นมแม่"
bulletเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletพัฒนาสมองด้วยนมแม่...
bulletGuide to Breastfeeding
dot
แหล่งข้อมูลความรู้เรื่องนมแม่
dot
bulletคลินิกนมแม่ทั่วประเทศ
bulletนมแม่ แน่ที่สุด
bulletศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย
bulletคลีนิครัก
bulletศริริราชออนไลน์
bulletสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ
bulletwww.breastfeeding.com
bulletPromom
bulletรักลูก
bulletLa Leche League
bullet4woman
bulletMother & Child Health
bulletWABA
bulletBreastfeedingonline
bulletDr. Sears
bulletbreastfeedingbasics
bulletwebboard
bulletkellymom
bulletDr. Jack Newman
bulletInfact
bulletgotbreastpump
bulletNew Beginnings
bulletโครงการสายใยรัก
bulletศูนย์ข้อมูล สสส
bulletUNICEF
bulletbreastfeedingmadesimple
bullethm4hb
bulletLactation Narration
bulletNormalFed
dot
Brainfeeding
dot
bulletเก็บมาฝาก
bulletIf we don't care, who will?
bullet๖๐ เรื่องน่ารู้ ในหลวงของเรา
bulletสัมภาษณ์ ดร. อาจอง ชุมสาย ฯ
bulletคนดีของพ่อ
bulletเรื่องที่ไม่มีใครอยากให้รู้
bulletคุยกับประภาส
dot
Sponsor Link
dot
bulletbfdcenter
bulletร้านนมแม่
bulletศูนย์รวมฟิล์มทุกชนิด
bulletV-Kool
bulletSuvarnabhumi Airport Hostel
bulletBussaba Bangkok Boutique Hotel Suvarnabhumi Airport
bulletbeing-mom
bulletมีลูกยาก
bulletSite Map
ปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี whisper
unimom allegro
ardo calypso
Ardo Carum
bulletนมแม่


ร้านนมแม่-เครื่องปั๊มนม


กลุ่มอาการดาวน์ซินโดรม

 บทความโดย พญ.สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ https://www.doctorbreastfeeding.com/

 

 ลูกเป็นดาวน์ซินโดรม อยากทราบข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับภาวะนี้และวิธีดูแลที่เหมาะสมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
Down syndrome เป็นความผิดปกติของโครโมโซม
คู่ที่ 21 คือ มีแท่งโครโมโซมเกินเป็น 3 แท่ง (ปกติมี 2 แท่ง คือ ได้รับมาจากแม่และพ่อฝ่ายละ 1 แท่ง ) พบได้บ่อย 1 ใน 800-1000 ของหญิงตั้งครรภ์ที่อายุน้อยกว่า 35 ปี ถ้าแม่อายุมากขึ้น จะมีโอกาสพบได้บ่อยขึ้น 
การเคยมีลูกเป็นดาวน์ซินโดร
มมาก่อน จะเพิ่มความเสี่ยงของการเป็นในลูกคนต่อไปมากน้อยขึ้นกับชนิดของความผิดปกติที่โครโมโซม ดังนั้นควรปรึกษาแพทย์ก่อนที่จะมีลูกคนต่อไป
การที่มีโครโมโซมเกินมา ทำให้มีความผิดปกติในการสร้
างอวัยวะของร่างกาย จึงเกิดความพิการและอาการของโรคหลายระบบ ได้แก่ หางตาเฉียงขึ้น ดั้งจมูกแบนราบกว้าง ใบหูขนาดเล็กและเกาะต่ำ ช่องปากเล็ก เพดานปากแคบและโค้งขึ้น ศีรษะเล็ก ท้ายทอยแบนราบ คอสั้น มือเล็กมีเส้นลายมือพาดขวางกลาง นิ้วมือโค้งงอ ฝ่าเท้าแบนกว้าง นิ้วเท้าสั้น ช่องห่างระหว่างนิ้วเท้าที่ 1 และ 2กว้างกว่าปกติ น้ำหนักแรกเกิดน้อย ร้องเสียงเบาแหลมเล็ก แรงตึงตัวกล้ามเนื้อไม่ดี (แก้ไขด้วยการฝึกทางกายภาพบำบัด) การยืดหยุ่นข้อมากผิดปกติ ภูมิต้านทานน้อยทำให้ติดเชื้อง่ายเป็นหวัด ไซนัส และปอดอักเสบบ่อยกว่าเด็กทั่วไป (วิธีการลดความเสี่ยงด้วยการรับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อต่างๆ การกินอาหารครบหมู่ การมีสุขอนามัยที่ดี ไม่พาไปรับเชื้อในที่แออัด การออกกำลังกายที่เหมาะสม) สายตาผิดปกติเช่นสั้น ยาว เอียง เหล่ (แก้ไขได้ด้วยแว่นตา) ประสาทหูบกพร่อง (แก้ไขด้วยเครื่องช่วยฟัง) โรคหัวใจพิการ ลำไส้อุดตัน (แก้โดยการผ่าตัด) ต่อมธัยรอยด์ทำงานน้อยกว่าปกติทำให้เป็นโรคเอ๋อจากการขาดฮอร์โมนซ้ำเติมจะทำให้มีพัฒนาการแย่ลงไปอีก (แก้ไขด้วยการให้ฮอร์โมนทดแทน) ข้อกระดูกต้นคอไม่แข็งแรงทำให้มีโอกาสเคลื่อนหลุดไปกดทับไขสันหลัง (หมอกระดูกจะประเมินเพื่อแนะนำว่าควรงดการออกกำลังประเภทใด) การเรียนรู้และพัฒนาการช้า (ไอคิวต่ำ) แต่บางคนมีไอคิวปกติคือสามารถเรียนจบปริญญาตรีได้ ขณะที่บางคนผิดปกติมากขนาดช่วยเหลือตัวเองไม่ได้เลย
ไม่มีใครบอกได้ว่าเด็กคนไหน
จะมีไอคิวมากน้อยแค่ไหนเมื่อแรกเกิด เด็กทุกคนจึงควรได้รับการดูแลอย่างเต็มที่เพื่อพัฒนาการและคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุด ได้แก่
กระตุ้นพัฒนาการกล้ามเนื้อม
ัดใหญ่มัดเล็ก การเคลื่อนไหว ด้านภาษา ด้านสังคม เช่น เอาลูกใส่เป้ขณะแม่เคลื่อนไหวไปมาจะได้กระตุ้นประสาทสมดุลการทรงตัว การเป่าลมตามตัวขณะลูกโป๊เพื่อกระตุ้นประสาทสัมผัสผิวหนัง จั๊กจี้ ถูตามตัวหรือตีเบาๆ กลิ้งตัวลูกไปมา ให้ลูกจับสิ่งต่างๆที่มีผิวสัมผัสต่างกัน วางตัวลูกให้ชิดขอบเตียงเพื่อให้ลูกใช้ขาถีบยันดันตัว จับลูกนอนคว่ำเอาของสีสดใสหรือมีเสียงมาล่อให้เอื้อมหรือเคลื่อนตัวหา เอากระดิ่งมาแขวนใกล้ๆขาลูกจะได้เตะเล่น ให้ลูกคลานในอ่างใส่น้ำ โดยมีม้วนผ้าหนุนบริเวณหน้าอก (คอยเฝ้าไม่ให้จมน้ำ) กระซิบข้างหู ร้องเพลง ทำเสียงแปลกๆให้ลูกฟัง เล่นเลียนเสียงกับลูก ให้เล่นหน้ากระจก กลิ้งลูกบอล การกระตุ้นพัฒนาการหรือเล่นต้องทำเป็นขั้นตอนไม่เร่งรีบและทำซ้ำบ่อยๆกว่าเด็กอื่นพาลูกไปพบปะผู้คนเพื่อฝึกการเข้าสังคม
การแก้ไขความผิดปกติทางการแ
พทย์ เช่น การผ่าตัด การให้ฮอร์โมนทดแทน การฝึกพูด การฝึกกระตุ้นพัฒนาการจากผู้เชี่ยวชาญ
การให้การศึกษาในโรงเรียนโด
ยไม่ปิดกั้นการเรียนร่วมกับเด็กอื่น การยอมรับไม่รังเกียจดูแคลนจากสังคม การให้โอกาสในการทำงาน
การดูแลเยียวยาจิตใจของครอบ
ครัว ซึ่งมีความรู้สึกเหล่านี้ตามลำดับ คือ
เสียใจ – แนะนำให้ร้องไห้ออกมา ถึงเป็นผู้ชายก็ไม่ต้องอาย
โกรธ – ทำไมต้องเป็นเรา การรู้สึกเช่นนี้เป็นเรื่อง
ปกติ แนะนำให้พูดคุยกับเพื่อน เพื่อเป็นการระบายความรู้สึก
ช็อค มึนชา ฝันร้าย หลงลืม ไม่มีสมาธิ 
ปฏิเสธความจริง – แนะนำให้คุยกับผู้เคยมีประส
บการณ์เดียวกัน จะได้รับคำแนะนำที่เป็นประโยชน์มาก พูดคุยปรับทุกข์กับคู่สมรสเพื่อวางแผนการเลี้ยงดูลูกร่วมกัน (พบว่าส่วนใหญ่จะทำให้คู่สมรสผูกพันกันแน่นแฟ้นใกล้ชิดกันมากขึ้นกว่าการเลิกรากันเพราะความไม่เข้าใจกันหรือต่างคนต่างโทษกัน)
บอกกับพี่ๆว่าน้องจะเรียนรู
้ช้าหน่อยและต้องการความรัก การดูแลและการสอนจากพวกเราทุกคน พี่สามารถช่วยสอนน้องทำอะไรได้บ้าง ซึ่งพบว่าพี่จะไม่รู้สึกอิจฉาน้องแต่จะช่วยเหลือและผูกพันกับน้องมากขึ้น ไม่รู้สึกอับอายและยังทำให้เป็นคนที่มีจิตใจอ่อนโยนกับผู้ด้อยโอกาสมากขึ้นอีกด้วย
รู้สึกผิดคิดว่าเป็นความผิด
ของตนเอง – ที่จริงแล้วไม่ได้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวของพ่อหรือแม่เลย เป็นเรื่องที่นอกเหนือการควบคุมของมนุษย์
ความรู้สึกเหล่านี้ไม่หายไป
แม้เวลาจะผ่านไปนานเทาใด แต่จะบรรเทาลงได้หากได้รับการช่วยเหลือและยอมรับจากสังคม การดูแลลูก Down ไม่ใช่เรื่องง่าย หากแต่เป็นงานหนักที่ต้องอาศัยแรงใจและความพยายามอย่างสูง เมื่อคุณแม่ทุ่มเทความรักแก่ลูกมากเท่าใด คุณแม่ก็จะได้รับความรักกลับคืนจากลูกมากเท่านั้นค่ะ




20.โรคต่างๆ

ช่วงนี้โรคกระเพาะอาหารและสำไส้อักเสบ
โรคมือ-เท้า-ปาก
โรคหัดกุหลาบ
โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ
โรคอกบุ๋มต้องรักษาหรือไม่ & ทำอย่างไร
โรคไวรัสละกระเพาะและท้องร่วง
โรคคาวาซากิคืออะไร
ลูกเป็นแผลร้อนในเกิดจากอะไร
หวัดเรื้อรังเกิดจากอะไร
อาการปวดขาในเด็กเกิดจากอะไร
ไอเฉพาะกลางคืน กลางวันดูปกติดี
ต่อมทอนซิล & ต่อมอดีนอยด์โตจำเป็นต้องผ่าตัดหรือไม่
กระดูกข้อศอกเคลื่อนในเด็ก
โรคฮิตของเด็กยุคใหม่ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง
โรคขาดฮอร์โมนธัยรอยด์แต่กำเนิด
ปัญหาฟันผุ
รังสีโทรทัศน์ VS สมองเสื่อม