ReadyPlanet.com
ardo calypso
dot
เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ : ข้อควรปฎิบัติ
dot
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 1
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 2
bulletวิธีเลือกกุมารแพทย์ให้ลูก
bulletก่อนคลอด
bulletสิ่งที่ต้องทำเมื่ออยู่ ร.พ.
bulletหลังคลอด
bulletท่าในการให้นม
bulletBreast Crawl
bulletความคาดหวังของลูกน้อย
bulletบันทึกการให้นมลูก
bulletวิธีให้นมเสริมอย่างถูกต้อง
bulletสัมผัสรักระหว่างแม่ลูก
bulletโรงพยาบาลสนับสนุนนมแม่
bulletแบบสอบถาม
dot
ปัญหาเรื่อง นมแม่
dot
bulletวิธีแก้ปัญหานมไม่พอ
bullet"นมแม่" ถ้าเข้าใจ ยังไงก็พอ
bulletนมพอหรือไม่
bulletเมื่อลูกไม่ดูดนมแม่ (new)
bulletอาหารเพิ่มน้ำนม
bulletวิธีเพิ่มน้ำนมด้วยการปั๊มนม
bulletWorkshop เพิ่มน้ำนม (new)
bulletยาประสระน้ำนม
bulletDomperidone (Motilium)
bulletยาเพิ่มน้ำนม Motilium
bulletคำเตือนสำหรับการใช้ยา Domperidone
bulletน้ำหนักตัวเพิ่มช้า
bulletน้ำหนักตัวน้อย
bulletเจ็บหน้าอก หัวนมแตก
bulletการบีบหน้าอก ช่วยลูกดูดนม
bulletลูกแพ้นมแม่หรือเปล่า
bulletตัวเหลือง
bulletสารพันปัญหา
บริจาคนมแม่
dot
เมื่อแม่ต้องไปทำงาน
dot
bullet20 เคล็ดลับสำหรับแม่ทำงาน
bulletมาทำ stock น้ำนม กันเถอะ
bulletวิธีให้ลูกยอมดูดนมแม่จากขวด
bulletจะให้ลูกกินอะไรเมื่อแม่ไปทำงาน
bulletวิธีเก็บรักษานมแม่
bulletต้องเตรียมปั๊มนมไว้ให้ลูกแค่ไหนถึงจะพอดี ?
bulletโปรแกรมคำนวณนมแม่
bulletยาคุมกำเนิด
dot
คุณแม่นักปั๊ม
dot
bulletการปั๊มนมโดยใช้เครื่องปั๊มนม
bulletปั๊มนมอย่างไรให้พอ หากลูกไม่ดูดจากเต้า
bulletข้อคิดก่อนซื้อ ที่ปั๊มนม
bulletเพิ่มน้ำนมภายใน 14 วันแรก
bulletเครื่องปั๊มนมยี่ห้อไหนดี
bulletซื้อเครื่องปั๊มที่ไหนดี
bulletปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี
bulletเรื่องของคุณแม่นักปั๊ม
bulletถุงเก็บน้ำนมแม่
dot
กลเม็ดเคล็ดลับ
dot
bulletวิธีบีบน้ำนมด้วยมือ (new)
bulletบีบด้วยมือ vs ปั๊มด้วยเครื่อง
bullet10 เคล็ดลับเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้ครบปี
bulletนอนให้นม...สบายมากๆ เลย
bulletอุปกรณ์เสริม ช่วยแม่ให้นมลูก
bulletมุมให้นมแม่
bulletวิธีพาสเจอร์ไรซ์นมแม่
dot
ปัญหาที่พบไม่บ่อย
dot
bulletลิ้นติด (Tongue Tie)
bulletเลี้ยงลูกแฝดด้วยนมแม่
bulletต้องการถามปัญหาอื่นๆ
bulletทำไมทารกร้องไห้โยเย
dot
หนังสือแนะนำ
dot
bulletขอรับหนังสือนมแม่ฟรี
bulletการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletสร้างชีวิตมหัศจรรย์ด้วยน้ำนมแม่
bulletนมแม่ ทุนสมองของลูกรัก
bullet เคล็ดลับ...แม่มือใหม่ "นมแม่"
bulletเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletพัฒนาสมองด้วยนมแม่...
bulletGuide to Breastfeeding
dot
แหล่งข้อมูลความรู้เรื่องนมแม่
dot
bulletคลินิกนมแม่ทั่วประเทศ
bulletนมแม่ แน่ที่สุด
bulletศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย
bulletคลีนิครัก
bulletศริริราชออนไลน์
bulletสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ
bulletwww.breastfeeding.com
bulletPromom
bulletรักลูก
bulletLa Leche League
bullet4woman
bulletMother & Child Health
bulletWABA
bulletBreastfeedingonline
bulletDr. Sears
bulletbreastfeedingbasics
bulletwebboard
bulletkellymom
bulletDr. Jack Newman
bulletInfact
bulletgotbreastpump
bulletNew Beginnings
bulletโครงการสายใยรัก
bulletศูนย์ข้อมูล สสส
bulletUNICEF
bulletbreastfeedingmadesimple
bullethm4hb
bulletLactation Narration
bulletNormalFed
dot
Brainfeeding
dot
bulletเก็บมาฝาก
bulletIf we don't care, who will?
bullet๖๐ เรื่องน่ารู้ ในหลวงของเรา
bulletสัมภาษณ์ ดร. อาจอง ชุมสาย ฯ
bulletคนดีของพ่อ
bulletเรื่องที่ไม่มีใครอยากให้รู้
bulletคุยกับประภาส
dot
Sponsor Link
dot
bulletbfdcenter
bulletร้านนมแม่
bulletศูนย์รวมฟิล์มทุกชนิด
bulletV-Kool
bulletSuvarnabhumi Airport Hostel
bulletBussaba Bangkok Boutique Hotel Suvarnabhumi Airport
bulletbeing-mom
bulletมีลูกยาก
bulletSite Map
ปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี whisper
unimom allegro
ardo calypso
Ardo Carum
bulletนมแม่


ร้านนมแม่-เครื่องปั๊มนม


ปัญหาฟันผุ

 บทความโดย พญ.สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ https://www.doctorbreastfeeding.com/

 

 อาจารย์ศิราภรณ์ สวัสดิวร รองประธานมูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย ได้กรุณาส่งข้อมูลเรื่อง โอกาสฟันผุ กับ นมแม่ ตัดตอนจาก บทความที่อาจารย์ได้เคยเขียนไว้ ตอนสอนทันตแพทย์ 

น้ำนมธรรมชาติ ไม่ว่านมแม่หรือนมวัวไม่ใช่อาหารที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุ (Cariogenic food) เนื่องจากนมทั้งสองชนิดต่างประกอบด้วยน้ำตาลแล็คโตส ซึ่งเป็นน้ำตาลที่มีความหวานน้อยกว่าน้ำตาลซูโครส ถึง 5 เท่า เป็นน้ำตาลที่ก่อให้เกิดฟันผุน้อยที่สุด นอกจากนี้ยังมีส่วนประกอบสำคัญที่ทำให้น้ำนมธรรมชาติไม่ใช่อาหารที่เสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ คือ

1. น้ำนมมีเกลือแร่สูง ได้แก่ แคลเซียม ฟอสฟอรัส มีผลช่วยลดการละลายของแร่ธา
ตุ (Demineralization) และเพิ่มการสะสมของแร่ธาตุ (Remineralization) ที่ผิวเคลือบฟัน 
2. โปรตีนในน้ำนมช่วยทำหน้าที่
เป็นบัฟเฟอร์ ปรับภาวะกรดด่างในช่องปากให้สมดุล จึงลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ
3. ไขมันในน้ำนม ช่วยเคลือบผิวฟันทำให้ลดการ
เกาะของแบคทีเรีย
4. เอนไซม์ในน้ำนม ช่วยลดปฏิกิริยาการสร้างกรด
โดยแบคทีเรียที่คราบฟัน
อย่างไรก็ตามนมผงในท้องตลาด
ปัจจุบัน มีการเติมน้ำตาลเพิ่มเพื่อทำให้รสชาติดีขึ้น โดยเฉพาะน้ำตาลซูโครส จึงก่อให้เกิดปัญหาฟันผุ 

ทำไมทารกที่ได้รับนมแม่ จึงเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุน้
อยกว่า

1. มีการศึกษาของ Erickson and Mazhari พบว่า เมื่อนำฟันใส่ในน้ำนมแม่นาน
ถึง 12 สัปดาห์ ผิวอีนาเมลของฟันก็ยังปกติไม่ถูกทำลายไม่เกิดฟันผุ แต่เมื่อนำฟันใส่ในน้ำนมแม่ที่เติมน้ำตาลซูโครส 10% ฟันจะผุภายในเวลาเพียง 3 สัปดาห์ 

2. กลไกการดูดนมแม่ ทำให้น้ำนมสัมผัสผิวฟันน้อย
กว่า กรณีดูดนมขวด เนื่องจากน้ำนมแม่จะไหลเข้าปาก เมื่อเด็กออกแรงดูดเท่านั้น นอกจากนี้ หัวนมแม่มีความยืดหยุ่นสูงเด็กจึงดูดได้ลึก ทำให้ทิศทางนมพุ่งไปด้านหลังฟันแล้วไหลลงคอ ไม่เอ่อล้นในปาก ในขณะที่ การดูดนมขวด น้ำนมจะไหลสะดวก โดยยังไม่จำเป็นต้องออกแรงดูด น้ำนมจึงเอ่อล้นในปากตลอดเวลา ทำให้นมมีโอกาสสัมผัสฟันทั้งด้านหน้าและด้านหลังได้มากและนานกว่าการดูดนมแม่ ฟันจึงผุมากกว่า

3. ระดับความเป็นกรดด่าง (pH) ในน้ำนมแม่ไม่เหมาะสมกับการ
เจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย 

4. ภูมิคุ้มกันในนมแม่ช่วยยับย
ั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของฟันผุ

ทำไมน้ำตาลซูโครส จึงทำให้เกิดฟันผุมากกว่าน้ำตาลแล็คโตส
เนื่องจาก เชื้อแบคทีเรียสำคัญที่เป็น
ตัวก่อปฏิกิริยาฟันผุ คือ เชื้อ Streptococcus mutans ชอบใช้น้ำตาลซูโครสมากกว่า น้ำตาลแลคโตส ผลผลิตจากการย่อยน้ำตาลชนิดนี้จะได้สาร glucan ซึ่งเป็นสารเหนียว ทำให้แบคทีเรียเกาะติดฟันได้มากขึ้น ฟันผุได้ง่าย น้ำตาลซูโครสจึงมีศักยภาพทำให้เกิดฟันผุได้สูงกว่าน้ำตาลแล็คโตส และมากกว่าน้ำตาลชนิดใดๆ 
น้ำนมแม่ ไม่ใช่ปัจจัยสำคัญที่ก่อให้
เกิดฟันผุ เพราะถึงแม้จะมีน้ำตาลแล็คโตส แต่ก็มีกลไกทางธรรมชาติที่จะช่วยปกป้องฟัน การได้อาหารอื่น น้ำตาลชนิดอื่น พฤติกรรมการกิน การดูแลความสะอาดของฟันเป็นปัจจัยที่สำคัญที่ส่งเสริมให้ฟันผุ

ข้อแนะนำทั่วไป ในการเลี้ยงทารกด้วยนมแม่ เพื่อลดโอกาสฟันผุ 

1. ระยะอายุ 6 เดือนแรก ระยะกินนมอย่างเดียว ฟันยังไม่ขึ้น
• ให้ทารกได้นมแม่ให้เต็มที่ท
ั้งกลางวัน กลางคืน ระยะนี้ยังไม่ต้องห่วงฟันผุเพราะฟันยังไม่ขึ้น และไม่จำเป็นต้องกินน้ำ 

2. หลังอายุ 6 เดือน ระยะเริ่มให้อาหารตามวัย ฟันเริ่มขึ้น
• ส่งเสริมให้กินนมแม่ต่อ เพื่อทารกจะได้รับนมที่ไม่ห
วานจากซูโครสเหมือนกับนมผง
• ถ้าจะเปลี่ยนเป็นนมผง ต้องเลือกชนิดไม่เติมน้ำตาล
ไม่ว่าจะเป็น น้ำผึ้ง ซูโครส หรือ ฟรุคโต้ส
• ไม่หัดให้เด็กชินกับอาหารหว
าน เช่น ไม่เติมน้ำตาลในอาหารโดยไม่จำเป็น ให้อาหารที่ทำเองในบ้าน ระมัดระวังหรือไม่ใช้ อาหารสำเร็จรูปเพราะมีการเติมน้ำตาลเพื่อให้รสชาติอร่อย ทำให้ทารกติดรสหวาน 
• ฝึกดื่มน้ำหลังอาหารและนมทุ
กครั้ง ร่วมกับการทำความสะอาดช่องปากและฟัน สม่ำเสมอ 
• ฝึกให้ทารกเริ่มปรับเวลา เป็นกินกลางวัน นอนกลางคืน เพื่อลดการดูดนมกลางคืน ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให
้ทารกฟันผุง่าย เนื่องจากเวลานอน น้ำลายจะไม่ค่อยไหลเวียน คราบแบคทีเรียจึงทำปฏิกิริยาและทำลายฟันได้นานกว่า 
• การให้น้ำผลไม้คั้นสดเอง ควรฝึกให้ดื่มจากแก้ว ไม่ใส่ขวดดูด เพราะจะทำให้น้ำตาลสัมผัสกั
บฟันได้มากและนาน และไม่ควรให้น้ำผลไม้พร่ำเพรื่อ อายุ 6 ด. - 1 ปี ควรได้รับเพียงวันละ 1 ครั้ง ครั้งละไม่เกิน 10 ซีซี/น้ำหนักตัว 1 กก. เช่น ทารกหนัก 6 กก. ไม่ควรเกินวันละ 2 ออนซ์ และเมื่อทารกเริ่มมีฟันบดเคี้ยวได้ ควรเปลี่ยนเป็นแบบรับประทานเนื้อผลไม้ดีกว่าให้เป็นน้ำผลไม้ ส่วนน้ำผลไม้กล่องไม่มีประโยชน์ มีแต่น้ำตาล จึงไม่ควรกินยาวหน่ยอนะคะ แต่เป็นข้อมูลที่มีหลักฐานท
างวิชาการ เรื่องฟันผุ เป็นจากหลายสาเหตุ ผสมปนกัน จะได้ไม่ต้องไปโทษ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง ลองอ่านแล้วพิจารณาดูค่ะ
 
 
 
 



20.โรคต่างๆ

ช่วงนี้โรคกระเพาะอาหารและสำไส้อักเสบ
โรคมือ-เท้า-ปาก
โรคหัดกุหลาบ
โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ
โรคอกบุ๋มต้องรักษาหรือไม่ & ทำอย่างไร
โรคไวรัสละกระเพาะและท้องร่วง
โรคคาวาซากิคืออะไร
กลุ่มอาการดาวน์ซินโดรม
ลูกเป็นแผลร้อนในเกิดจากอะไร
หวัดเรื้อรังเกิดจากอะไร
อาการปวดขาในเด็กเกิดจากอะไร
ไอเฉพาะกลางคืน กลางวันดูปกติดี
ต่อมทอนซิล & ต่อมอดีนอยด์โตจำเป็นต้องผ่าตัดหรือไม่
กระดูกข้อศอกเคลื่อนในเด็ก
โรคฮิตของเด็กยุคใหม่ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง
โรคขาดฮอร์โมนธัยรอยด์แต่กำเนิด
รังสีโทรทัศน์ VS สมองเสื่อม