ReadyPlanet.com
ardo calypso
dot
เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ : ข้อควรปฎิบัติ
dot
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 1
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 2
bulletวิธีเลือกกุมารแพทย์ให้ลูก
bulletก่อนคลอด
bulletสิ่งที่ต้องทำเมื่ออยู่ ร.พ.
bulletหลังคลอด
bulletท่าในการให้นม
bulletBreast Crawl
bulletความคาดหวังของลูกน้อย
bulletบันทึกการให้นมลูก
bulletวิธีให้นมเสริมอย่างถูกต้อง
bulletสัมผัสรักระหว่างแม่ลูก
bulletโรงพยาบาลสนับสนุนนมแม่
bulletแบบสอบถาม
dot
ปัญหาเรื่อง นมแม่
dot
bulletวิธีแก้ปัญหานมไม่พอ
bullet"นมแม่" ถ้าเข้าใจ ยังไงก็พอ
bulletนมพอหรือไม่
bulletเมื่อลูกไม่ดูดนมแม่ (new)
bulletอาหารเพิ่มน้ำนม
bulletวิธีเพิ่มน้ำนมด้วยการปั๊มนม
bulletWorkshop เพิ่มน้ำนม (new)
bulletยาประสระน้ำนม
bulletDomperidone (Motilium)
bulletยาเพิ่มน้ำนม Motilium
bulletคำเตือนสำหรับการใช้ยา Domperidone
bulletน้ำหนักตัวเพิ่มช้า
bulletน้ำหนักตัวน้อย
bulletเจ็บหน้าอก หัวนมแตก
bulletการบีบหน้าอก ช่วยลูกดูดนม
bulletลูกแพ้นมแม่หรือเปล่า
bulletตัวเหลือง
bulletสารพันปัญหา
บริจาคนมแม่
dot
เมื่อแม่ต้องไปทำงาน
dot
bullet20 เคล็ดลับสำหรับแม่ทำงาน
bulletมาทำ stock น้ำนม กันเถอะ
bulletวิธีให้ลูกยอมดูดนมแม่จากขวด
bulletจะให้ลูกกินอะไรเมื่อแม่ไปทำงาน
bulletวิธีเก็บรักษานมแม่
bulletต้องเตรียมปั๊มนมไว้ให้ลูกแค่ไหนถึงจะพอดี ?
bulletโปรแกรมคำนวณนมแม่
bulletยาคุมกำเนิด
dot
คุณแม่นักปั๊ม
dot
bulletการปั๊มนมโดยใช้เครื่องปั๊มนม
bulletปั๊มนมอย่างไรให้พอ หากลูกไม่ดูดจากเต้า
bulletข้อคิดก่อนซื้อ ที่ปั๊มนม
bulletเพิ่มน้ำนมภายใน 14 วันแรก
bulletเครื่องปั๊มนมยี่ห้อไหนดี
bulletซื้อเครื่องปั๊มที่ไหนดี
bulletปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี
bulletเรื่องของคุณแม่นักปั๊ม
bulletถุงเก็บน้ำนมแม่
dot
กลเม็ดเคล็ดลับ
dot
bulletวิธีบีบน้ำนมด้วยมือ (new)
bulletบีบด้วยมือ vs ปั๊มด้วยเครื่อง
bullet10 เคล็ดลับเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้ครบปี
bulletนอนให้นม...สบายมากๆ เลย
bulletอุปกรณ์เสริม ช่วยแม่ให้นมลูก
bulletมุมให้นมแม่
bulletวิธีพาสเจอร์ไรซ์นมแม่
dot
ปัญหาที่พบไม่บ่อย
dot
bulletลิ้นติด (Tongue Tie)
bulletเลี้ยงลูกแฝดด้วยนมแม่
bulletต้องการถามปัญหาอื่นๆ
bulletทำไมทารกร้องไห้โยเย
dot
หนังสือแนะนำ
dot
bulletขอรับหนังสือนมแม่ฟรี
bulletการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletสร้างชีวิตมหัศจรรย์ด้วยน้ำนมแม่
bulletนมแม่ ทุนสมองของลูกรัก
bullet เคล็ดลับ...แม่มือใหม่ "นมแม่"
bulletเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletพัฒนาสมองด้วยนมแม่...
bulletGuide to Breastfeeding
dot
แหล่งข้อมูลความรู้เรื่องนมแม่
dot
bulletคลินิกนมแม่ทั่วประเทศ
bulletนมแม่ แน่ที่สุด
bulletศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย
bulletคลีนิครัก
bulletศริริราชออนไลน์
bulletสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ
bulletwww.breastfeeding.com
bulletPromom
bulletรักลูก
bulletLa Leche League
bullet4woman
bulletMother & Child Health
bulletWABA
bulletBreastfeedingonline
bulletDr. Sears
bulletbreastfeedingbasics
bulletwebboard
bulletkellymom
bulletDr. Jack Newman
bulletInfact
bulletgotbreastpump
bulletNew Beginnings
bulletโครงการสายใยรัก
bulletศูนย์ข้อมูล สสส
bulletUNICEF
bulletbreastfeedingmadesimple
bullethm4hb
bulletLactation Narration
bulletNormalFed
dot
Brainfeeding
dot
bulletเก็บมาฝาก
bulletIf we don't care, who will?
bullet๖๐ เรื่องน่ารู้ ในหลวงของเรา
bulletสัมภาษณ์ ดร. อาจอง ชุมสาย ฯ
bulletคนดีของพ่อ
bulletเรื่องที่ไม่มีใครอยากให้รู้
bulletคุยกับประภาส
dot
Sponsor Link
dot
bulletbfdcenter
bulletร้านนมแม่
bulletศูนย์รวมฟิล์มทุกชนิด
bulletV-Kool
bulletSuvarnabhumi Airport Hostel
bulletBussaba Bangkok Boutique Hotel Suvarnabhumi Airport
bulletbeing-mom
bulletมีลูกยาก
bulletSite Map
ปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี whisper
unimom allegro
ardo calypso
Ardo Carum
bulletนมแม่


ร้านนมแม่-เครื่องปั๊มนม


ลูกในครรภ์ตัวเล็กคุณแม่ควรโด๊ปนมและไข่หรือไม่

 บทความโดย พญ.สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ https://www.doctorbreastfeeding.com/

 

ถ้าลูกในครรภ์นน.น้อยจะทำยังไงดีคะ เพราะหมอสูติแนะนำให้กินนม,ไข่เพิ่มขึ้น ตอนนี้ท้อง 7 เดือน ลูกหนัก 9 ขีด หมอบอกว่าลูกนน.น้อยไป ให้บำรุงพวกโปรตีนค่ะ
ก่อนอื่น ป้าหมอขอบอกตัวเลขนน.ค่าเฉล
ี่ย (50%) ของลูกอายุครรภ์ 7 เดือน คือ 1,000 กรัมค่ะ ถ้าลูกหนัก 9 ขีดยังถือว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติ ไม่เข้าข่ายว่าลูกตัวเล็กผิดปกติ IUGR (Intrauterine Growth Retardation)เพราะไม่ได้ต่ำกว่า 10% ซึ่งก็คือ 700 กรัม คุณแม่ไม่ต้องกังวลนะคะ กินอาหารตามปกติเหมือนเดิมค่ะ ไม่ต้องโด๊ปนมวัวและไข่ เพราะอาจเพิ่มความเสี่ยงที่ลูกจะแพ้เมื่อโตขึ้น
การที่ลูกในท้องมีนน.ต่ำกว่าค่าเฉลี่ย หรือ 50% ไม่ถือว่า ลูกตัวเล็กเกินไปนะคะ ยังอยู่ในเกณฑ์ปกติค่ะ ผิดปกติคือ ต้องต่ำกว่า 10% ค่ะ
สาเหตุของลูกในครรภ์ตัวเล็ก
 เช่น แม่เป็นโรคต่อไปนี้ โรคเบาหวาน ครรภ์เป็นพิษ โรคหัวใจ โรคไต โรคเลือดจาง โรคปอดเรื้อรัง ติดเชื้อหัดเยอรมัน ไวรัส CMV เชื้อToxoplasmosis (อยู่ในอึแมว) เชื้อซิฟิลิส (เหมือนลูกลำยอง) มีเนื้องอกในมดลูก แม่สูบบุหรี่ กินเหล้า ใช้สารเสพติด แม่เป็นโรคขาดสารอาหาร ความผิดปกติด้านการแข็งตัวของเลือด ลูกเป็นความผิดปกติของโครโมโซม ลูกแฝด (เพราะอยู่กันเบียดๆ ไม่ใช่เพราะแย่งอาหารกัน)ดังนั้นถ้าดูจากสาเหตุข้างต้นแล้ว มีอยู่กรณีเดียวเท่านั้นที่การให้แม่กินอาหารเพิ่มขึ้น หรือ กินแบบโด๊ป เช่น ไข่วันละ 3 ฟอง นมวันละ 2 ลิตร จะช่วยทำให้ลูกในครรภ์ตัวโตขึ้น นั่นคือ กรณีที่แม่เป็นโรคขาดสารอาหาร ขาดพลังงานอยู่แต่ดั้งเดิม ซึ่งไม่ใช่คุณแม่ส่วนใหญ่ที่อ่านแฟนเพจป้าหมอแน่นอนค่ะ น่าจะเป็นคุณแม่ที่อยู่ในประเทศเอธิโอเปียประมาณนั้น 
ส่วนลูกตัวเล็กจากสาเหตุอื่
นๆ ถึงพยายามกินมากขึ้น ก็ไม่ได้ประโยชน์อะไร หรือ อาจทำให้แย่ลงด้วย เช่น กรณีที่คุณแม่เป็นเบาหวาน ลูกตัวเล็ก แต่แม่ยังกินแบบไม่ยั้ง น้ำตาลในเลือดยิ่งสูง จะทำให้ลูกมีความผิดปกติมากขึ้น และถ้าแต่เดิมคุณแม่เป็นคนอ้วนหรือนน.เกินอยู่ ก็ไม่ต้องกินแคลอรี่เพิ่มขึ้น ให้กินแคลอรี่เท่ากับคนที่ไม่ตั้งครรภ์ก็พอแล้ว ไม่ต้องกินเพิ่มอีก 500 กิโลแคลอรี่เหมือนกับคุณแม่ตั้งครรภ์ท่านอื่นๆ เพราะมีนน.สำรองไว้มากอยู่แล้ว แล้วทำไมคุณแม่หลายๆท่านจึงมักได้รับคำแนะนำว่า ให้กินเยอะๆ เพื่อเพิ่มนน. ก็เหมือนกับที่คนมักคิดว่า ให้แม่กินอาหารเยอะๆ แล้วจะผลิตน้ำนมได้เพิ่มขึ้นนั่นเอง ซึ่งไม่เป็นความจริงแต่อย่างใด ให้กินเท่าที่จำเป็นก็พอแล้ว คือ หญิงตั้งครรภ์ และ หญิงให้นมลูกที่มีสภาวะทางโภชนาการปกติอยู่แต่เดิม ต้องการแคลอรี่เพิ่มขึ้น 500 กิโลแคลอรี่/วัน หากถ้าใครมีสภาวะโภชนาล้นเกิน หรือ นน.เกินอยู่แล้ว ไม่ต้องกินเพิ่มค่ะ ให้กินเท่ากับหญิงไม่ตั้งครรภ์ คือ 2,000 กิโลแคลอรี่/วัน 

วิธีดูแลที่ถูกต้องสำหรับปั
ญหาลูกในครรภ์ตัวเล็กทุกกรณี คือ การพักเยอะๆ การนอนเยอะๆ เพื่อให้มีเลือดสูบฉีดไปเลี้ยงทารกมากขึ้น ถ้าแม่ทำงานเยอะ ออกแรงเยอะ เลือดก็ต้องไปเลี้ยงส่วนอื่นๆของร่างกายคุณแม่ ทำให้มีเลือดมาเลี้ยงลูกลดลง คุณแม่ตั้งครรภ์ควรนอนกลางคืนอย่างน้อย 8 ชม. กลางวัน 1-2 ชม.
ส่วนการรักษาด้านอื่นๆ ขึ้นกับสาเหตุที่ทำให้ลูกตั
วเล็ก เช่น เลิกสูบบุหรี่ เลิกกินเหล้า เลิกสารเสพติด ใช้แอสไพรินแก้ไขปัญหาเรื่องความผิดปกติด้านการแข็งตัวของเลือด ส่วนโรคประจำตัวของคุณแม่ก็ต้องให้คุณหมออายุรกรรมช่วยดูแลควบคู่กันไป ถ้าเป็นการติดเชื้อหรือโครโมโซมผิดปกติ ก็มักจะทำอะไรไม่ค่อยได้ นอกจากการนอนพักผ่อนให้เต็มที่

แล้วจะทราบได้อย่างไรว่าลูก
ในครรภ์ตัวเล็ก 

1.ตรวจร่างกาย : วัดระยะห่างจากมดลูกถึงกระด
ูกหัวหน่าว เพื่อดูว่าลูกโตขึ้นทุกเดือนไหม

2.อัลตราซาวด์ : ประเมินน้ำหนักลูกได้จากการ
คำนวณค่าที่วัดได้ วิธีนี้เชื่อถือได้มากที่สุด ถ้าผู้ทำอัลตราซาวด์มีความเชี่ยวชาญ

3.โดยการติดตามการเพิ่มขึ้น
ของน้ำหนักคุณแม่ : ถ้านน.คุณแม่ไม่ขึ้น หรือ ลดลง ให้สงสัยว่าลูกอาจมีปัญหาตัวเล็กผิดปกติ แต่ก็ไม่แน่เสมอไป เพราะป้าหมอเคยพบเคสที่นน.แม่ขึ้นเพียง 8 กก. ลูกออกมาหนัก 4 กก. และเคยพบเคสที่แม่นน.ขึ้น 20 กก. ลูกหนักแค่ 2.5 กก. แสดงว่า นน.ลูกไม่ได้แปรผันตรงไปตรงมากับนน.ของคุณแม่ที่เพิ่มขึ้น แต่นน.คุณแม่ที่เพิ่มขึ้นแปรผันตามอาหารที่คุณแม่กิน ดังนั้น หากคุณแม่โด๊ปมากๆโดยที่คุณแม่ไม่ได้มีปัญหาขาดสารอาหารอยู่แต่เดิม นน.ส่วนเกินจะอยู่ที่คุณแม่ทั้งหมด ลูกได้ไปก็แค่นิดเดียวอยู่ดี แถมยังอาจเพิ่มความเสี่ยงในการที่ลูกจะแพ้อาหารที่แม่โด๊ปเข้าไป เช่น นมวัว นมถั่ว ไข่ แป้งสาลี ซีฟู้ด




24.คุณแม่ตั้งครรถ์

แม่ตั้งครรภ์มีน้ำนมไหลแล้วผิดปกติไหม
หญิงตั้งครรภ์ควรดื่มนมอะไรดี
ความสำคัญของการฝากครรภ์
ข้อดีของการมีลูก
แม่เป็นเบาหวานมีความเสี่ยงอะไรบ้าง
การอยู่ไฟต้องระวังอะไรบ้าง
การรับมือกับปัญหาพี่อิจฉาน้อง
ของที่ควรเตรียมไว้สำหรับลูกน้อยแรกคลอดอะไรบ้างที่จำเป็น