ReadyPlanet.com
ardo calypso
dot
เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ : ข้อควรปฎิบัติ
dot
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 1
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 2
bulletวิธีเลือกกุมารแพทย์ให้ลูก
bulletก่อนคลอด
bulletสิ่งที่ต้องทำเมื่ออยู่ ร.พ.
bulletหลังคลอด
bulletท่าในการให้นม
bulletBreast Crawl
bulletความคาดหวังของลูกน้อย
bulletบันทึกการให้นมลูก
bulletวิธีให้นมเสริมอย่างถูกต้อง
bulletสัมผัสรักระหว่างแม่ลูก
bulletโรงพยาบาลสนับสนุนนมแม่
bulletแบบสอบถาม
dot
ปัญหาเรื่อง นมแม่
dot
bulletวิธีแก้ปัญหานมไม่พอ
bullet"นมแม่" ถ้าเข้าใจ ยังไงก็พอ
bulletนมพอหรือไม่
bulletเมื่อลูกไม่ดูดนมแม่ (new)
bulletอาหารเพิ่มน้ำนม
bulletวิธีเพิ่มน้ำนมด้วยการปั๊มนม
bulletWorkshop เพิ่มน้ำนม (new)
bulletยาประสระน้ำนม
bulletDomperidone (Motilium)
bulletยาเพิ่มน้ำนม Motilium
bulletคำเตือนสำหรับการใช้ยา Domperidone
bulletน้ำหนักตัวเพิ่มช้า
bulletน้ำหนักตัวน้อย
bulletเจ็บหน้าอก หัวนมแตก
bulletการบีบหน้าอก ช่วยลูกดูดนม
bulletลูกแพ้นมแม่หรือเปล่า
bulletตัวเหลือง
bulletสารพันปัญหา
บริจาคนมแม่
dot
เมื่อแม่ต้องไปทำงาน
dot
bullet20 เคล็ดลับสำหรับแม่ทำงาน
bulletมาทำ stock น้ำนม กันเถอะ
bulletวิธีให้ลูกยอมดูดนมแม่จากขวด
bulletจะให้ลูกกินอะไรเมื่อแม่ไปทำงาน
bulletวิธีเก็บรักษานมแม่
bulletต้องเตรียมปั๊มนมไว้ให้ลูกแค่ไหนถึงจะพอดี ?
bulletโปรแกรมคำนวณนมแม่
bulletยาคุมกำเนิด
dot
คุณแม่นักปั๊ม
dot
bulletการปั๊มนมโดยใช้เครื่องปั๊มนม
bulletปั๊มนมอย่างไรให้พอ หากลูกไม่ดูดจากเต้า
bulletข้อคิดก่อนซื้อ ที่ปั๊มนม
bulletเพิ่มน้ำนมภายใน 14 วันแรก
bulletเครื่องปั๊มนมยี่ห้อไหนดี
bulletซื้อเครื่องปั๊มที่ไหนดี
bulletปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี
bulletเรื่องของคุณแม่นักปั๊ม
bulletถุงเก็บน้ำนมแม่
dot
กลเม็ดเคล็ดลับ
dot
bulletวิธีบีบน้ำนมด้วยมือ (new)
bulletบีบด้วยมือ vs ปั๊มด้วยเครื่อง
bullet10 เคล็ดลับเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้ครบปี
bulletนอนให้นม...สบายมากๆ เลย
bulletอุปกรณ์เสริม ช่วยแม่ให้นมลูก
bulletมุมให้นมแม่
bulletวิธีพาสเจอร์ไรซ์นมแม่
dot
ปัญหาที่พบไม่บ่อย
dot
bulletลิ้นติด (Tongue Tie)
bulletเลี้ยงลูกแฝดด้วยนมแม่
bulletต้องการถามปัญหาอื่นๆ
bulletทำไมทารกร้องไห้โยเย
dot
หนังสือแนะนำ
dot
bulletขอรับหนังสือนมแม่ฟรี
bulletการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletสร้างชีวิตมหัศจรรย์ด้วยน้ำนมแม่
bulletนมแม่ ทุนสมองของลูกรัก
bullet เคล็ดลับ...แม่มือใหม่ "นมแม่"
bulletเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletพัฒนาสมองด้วยนมแม่...
bulletGuide to Breastfeeding
dot
แหล่งข้อมูลความรู้เรื่องนมแม่
dot
bulletคลินิกนมแม่ทั่วประเทศ
bulletนมแม่ แน่ที่สุด
bulletศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย
bulletคลีนิครัก
bulletศริริราชออนไลน์
bulletสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ
bulletwww.breastfeeding.com
bulletPromom
bulletรักลูก
bulletLa Leche League
bullet4woman
bulletMother & Child Health
bulletWABA
bulletBreastfeedingonline
bulletDr. Sears
bulletbreastfeedingbasics
bulletwebboard
bulletkellymom
bulletDr. Jack Newman
bulletInfact
bulletgotbreastpump
bulletNew Beginnings
bulletโครงการสายใยรัก
bulletศูนย์ข้อมูล สสส
bulletUNICEF
bulletbreastfeedingmadesimple
bullethm4hb
bulletLactation Narration
bulletNormalFed
dot
Brainfeeding
dot
bulletเก็บมาฝาก
bulletIf we don't care, who will?
bullet๖๐ เรื่องน่ารู้ ในหลวงของเรา
bulletสัมภาษณ์ ดร. อาจอง ชุมสาย ฯ
bulletคนดีของพ่อ
bulletเรื่องที่ไม่มีใครอยากให้รู้
bulletคุยกับประภาส
dot
Sponsor Link
dot
bulletbfdcenter
bulletร้านนมแม่
bulletศูนย์รวมฟิล์มทุกชนิด
bulletV-Kool
bulletSuvarnabhumi Airport Hostel
bulletBussaba Bangkok Boutique Hotel Suvarnabhumi Airport
bulletbeing-mom
bulletมีลูกยาก
bulletSite Map
ปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี whisper
unimom allegro
ardo calypso
Ardo Carum
bulletนมแม่


ร้านนมแม่-เครื่องปั๊มนม


การรับมือกับปัญหาพี่อิจฉาน้อง

 บทความโดย พญ.สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ https://www.doctorbreastfeeding.com/

 

หากลูกคนโตอายุขวบครึ่งขึ้นไป จะพอเข้าใจสิ่งที่คุณบอกได้แล้ว จึงควรบอกลูกว่าในท้องของคุณมีน้องสาวหรือน้องชายของเขา คอยพูดถึงข้อดีของการมีน้องเช่น จะได้มีเพื่อนเล่น ไม่เหงา และคุณรักเขาไม่เปลี่ยนแปลง ควรให้มีการเปลี่ยนแปลงในชีวิตของลูกน้อยที่สุด เช่น ลูกยังคงมีของเล่นโปรด ยังได้ไปสวนสาธารณะ ยังได้มีเวลาพิเศษร่วมกันกับคุณเสมอ ไม่ให้พูดแหย่ทำให้ลูกรู้สึกไม่ดี เช่น ถ้าหากดื้อ จะไม่รัก แต่จะรักน้องแทน และเมื่อท้องของคุณเริ่มโตขึ้นจนเห็นได้ชัดและผ่านพ้นระยะที่อาจเสี่ยงต่อการแท้งแล้ว คุณอาจบอกลูกว่าลูกจะทำอะไรได้บ้างเพื่อช่วยเหลือแม่ในการดูแลน้อง น้องควรนอนที่ไหน เตรียมของเล่นให้น้อง แต่อย่าคาดหวังว่าลูกจะทำได้ เพราะเขาอาจยังเด็กเกินไป

การเตรียมตัวล่วงหน้า

ไม่ควรมีการเปลี่ยนแปลงในกิ
จวัตรประจำวันของลูกคนโตที่อาจเพิ่มความเครียดและกดดันในช่วงที่คุณให้กำเนิดคนเล็ก เช่น การย้ายห้องนอน การเลิกดูดนมแม่หรือดูดขวด พาเข้าโรงเรียนแต่ให้ทำล่วงหน้าก่อนหหลังน้องเกิด 3 เดือน เพื่อไม่ให้ลูกคิดว่าเป็นเพราะน้องมาไล่ที่ แต่เป็นเพราะเขาเป็นเด็กโตแล้ว เก่งแล้ว สามารถทำได้แล้ว

ช่วงคลอดและหลังคลอด

ความคิดที่จะให้ลูกคนโตอยู่
ในห้องคลอดด้วยกันทั้งหมด เพื่อสร้างความใกล้ชิดระหว่างกัน อาจให้ผลลัพธ์ที่ไม่ดี เพราะลูกอาจรู้สึกไม่ดีที่เห็นแม่ต้องมีความเจ็บปวดอย่างมาก และกรีดร้อง ทำให้ลูกคิดว่าสิ่งไม่ดีกำลังจะเกิดขึ้น และลูกอาจกลัวเลือด ส่วนแม่ก็อาจพะว้าพะวงเป็นห่วงลูกที่อาจงอแงอยู่ในห้องคลอดจนไม่มีสมาธิในการเบ่งคลอด
หลังคลอดลูกแล้ว เมื่อทุกอย่างเรียบร้อย เหตุการณ์สงบ ควรเป็นเวลาที่พี่ได้เจอกับ
น้อง มีโอกาสได้สัมผัส (แต่อย่าลืมล้างมือก่อนเสมอ) ได้พูดกับน้อง ช่วยงานแม่เล็กๆน้อยๆ เช่น หยิบผ้าอ้อมให้แม่ ให้เขาได้รู้สึกมีส่วนร่วม และให้เข้าเยี่ยมน้องได้บ่อยเท่าที่เขาต้องการ แต่อย่าบังคับหากเขาไม่ต้องการ
เมื่อนำทารกกลับบ้านทันทีที่กลับถึงบ้าน คุณอาจยุ่งอยู่กับการจัดเข้
าจัดของและวุ่นวายกับการดูแลทารก จนลืมนึกถึงลูกคนโต ดังนั้นควรมีใครดูแลเขาอยู่และเมื่อคุณพร้อมจึงนำเขามากอดและพูดคุยกับเขาเป็นการส่วนตัว และนำของขวัญมาให้เขาด้วย เช่น อาจเป็นตุ๊กตาสำหรับให้เขาเล่นสมมติ หรือของเล่นอื่นที่เขาชอบเพื่อให้เขาไม่รู้สึกว่าถูกละเลย อย่าเฝ้าถามเขาว่า ชอบน้องหรือไม่ เพียงแค่รอฟังว่าเขาจะพูดถึงน้องอย่างไร และอย่าแปลกใจหากเขาบอกว่าไม่ชอบน้อง

ที่จริงแล้ว เด็กส่วนใหญ่มักปรับตัวได้ด
ีกับการมีน้องในช่วง2-3 วันแรก แต่เมื่อเวลาผ่านไป 2-3 สัปดาห์ เขาอาจรู้สึกว่าการมีน้องไม่ใช่เรื่องสนุกอีกต่อไป ทำให้เด็กรู้สึกเครียดขึ้นมาได้ พ่อแม่จึงควรเข้าใจ อดทน และไม่โมโหเมื่อลูกคนโตมีพฤติกรรมต่อต้านหรือถดถอย




24.คุณแม่ตั้งครรถ์

ลูกในครรภ์ตัวเล็กคุณแม่ควรโด๊ปนมและไข่หรือไม่
แม่ตั้งครรภ์มีน้ำนมไหลแล้วผิดปกติไหม
หญิงตั้งครรภ์ควรดื่มนมอะไรดี
ความสำคัญของการฝากครรภ์
ข้อดีของการมีลูก
แม่เป็นเบาหวานมีความเสี่ยงอะไรบ้าง
การอยู่ไฟต้องระวังอะไรบ้าง
ของที่ควรเตรียมไว้สำหรับลูกน้อยแรกคลอดอะไรบ้างที่จำเป็น