ReadyPlanet.com
ardo calypso
dot
เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ : ข้อควรปฎิบัติ
dot
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 1
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 2
bulletวิธีเลือกกุมารแพทย์ให้ลูก
bulletก่อนคลอด
bulletสิ่งที่ต้องทำเมื่ออยู่ ร.พ.
bulletหลังคลอด
bulletท่าในการให้นม
bulletBreast Crawl
bulletความคาดหวังของลูกน้อย
bulletบันทึกการให้นมลูก
bulletวิธีให้นมเสริมอย่างถูกต้อง
bulletสัมผัสรักระหว่างแม่ลูก
bulletโรงพยาบาลสนับสนุนนมแม่
bulletแบบสอบถาม
dot
ปัญหาเรื่อง นมแม่
dot
bulletวิธีแก้ปัญหานมไม่พอ
bullet"นมแม่" ถ้าเข้าใจ ยังไงก็พอ
bulletนมพอหรือไม่
bulletเมื่อลูกไม่ดูดนมแม่ (new)
bulletอาหารเพิ่มน้ำนม
bulletวิธีเพิ่มน้ำนมด้วยการปั๊มนม
bulletWorkshop เพิ่มน้ำนม (new)
bulletยาประสระน้ำนม
bulletDomperidone (Motilium)
bulletยาเพิ่มน้ำนม Motilium
bulletคำเตือนสำหรับการใช้ยา Domperidone
bulletน้ำหนักตัวเพิ่มช้า
bulletน้ำหนักตัวน้อย
bulletเจ็บหน้าอก หัวนมแตก
bulletการบีบหน้าอก ช่วยลูกดูดนม
bulletลูกแพ้นมแม่หรือเปล่า
bulletตัวเหลือง
bulletสารพันปัญหา
บริจาคนมแม่
dot
เมื่อแม่ต้องไปทำงาน
dot
bullet20 เคล็ดลับสำหรับแม่ทำงาน
bulletมาทำ stock น้ำนม กันเถอะ
bulletวิธีให้ลูกยอมดูดนมแม่จากขวด
bulletจะให้ลูกกินอะไรเมื่อแม่ไปทำงาน
bulletวิธีเก็บรักษานมแม่
bulletต้องเตรียมปั๊มนมไว้ให้ลูกแค่ไหนถึงจะพอดี ?
bulletโปรแกรมคำนวณนมแม่
bulletยาคุมกำเนิด
dot
คุณแม่นักปั๊ม
dot
bulletการปั๊มนมโดยใช้เครื่องปั๊มนม
bulletปั๊มนมอย่างไรให้พอ หากลูกไม่ดูดจากเต้า
bulletข้อคิดก่อนซื้อ ที่ปั๊มนม
bulletเพิ่มน้ำนมภายใน 14 วันแรก
bulletเครื่องปั๊มนมยี่ห้อไหนดี
bulletซื้อเครื่องปั๊มที่ไหนดี
bulletปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี
bulletเรื่องของคุณแม่นักปั๊ม
bulletถุงเก็บน้ำนมแม่
dot
กลเม็ดเคล็ดลับ
dot
bulletวิธีบีบน้ำนมด้วยมือ (new)
bulletบีบด้วยมือ vs ปั๊มด้วยเครื่อง
bullet10 เคล็ดลับเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้ครบปี
bulletนอนให้นม...สบายมากๆ เลย
bulletอุปกรณ์เสริม ช่วยแม่ให้นมลูก
bulletมุมให้นมแม่
bulletวิธีพาสเจอร์ไรซ์นมแม่
dot
ปัญหาที่พบไม่บ่อย
dot
bulletลิ้นติด (Tongue Tie)
bulletเลี้ยงลูกแฝดด้วยนมแม่
bulletต้องการถามปัญหาอื่นๆ
bulletทำไมทารกร้องไห้โยเย
dot
หนังสือแนะนำ
dot
bulletขอรับหนังสือนมแม่ฟรี
bulletการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletสร้างชีวิตมหัศจรรย์ด้วยน้ำนมแม่
bulletนมแม่ ทุนสมองของลูกรัก
bullet เคล็ดลับ...แม่มือใหม่ "นมแม่"
bulletเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletพัฒนาสมองด้วยนมแม่...
bulletGuide to Breastfeeding
dot
แหล่งข้อมูลความรู้เรื่องนมแม่
dot
bulletคลินิกนมแม่ทั่วประเทศ
bulletนมแม่ แน่ที่สุด
bulletศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย
bulletคลีนิครัก
bulletศริริราชออนไลน์
bulletสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ
bulletwww.breastfeeding.com
bulletPromom
bulletรักลูก
bulletLa Leche League
bullet4woman
bulletMother & Child Health
bulletWABA
bulletBreastfeedingonline
bulletDr. Sears
bulletbreastfeedingbasics
bulletwebboard
bulletkellymom
bulletDr. Jack Newman
bulletInfact
bulletgotbreastpump
bulletNew Beginnings
bulletโครงการสายใยรัก
bulletศูนย์ข้อมูล สสส
bulletUNICEF
bulletbreastfeedingmadesimple
bullethm4hb
bulletLactation Narration
bulletNormalFed
dot
Brainfeeding
dot
bulletเก็บมาฝาก
bulletIf we don't care, who will?
bullet๖๐ เรื่องน่ารู้ ในหลวงของเรา
bulletสัมภาษณ์ ดร. อาจอง ชุมสาย ฯ
bulletคนดีของพ่อ
bulletเรื่องที่ไม่มีใครอยากให้รู้
bulletคุยกับประภาส
dot
Sponsor Link
dot
bulletbfdcenter
bulletร้านนมแม่
bulletศูนย์รวมฟิล์มทุกชนิด
bulletV-Kool
bulletSuvarnabhumi Airport Hostel
bulletBussaba Bangkok Boutique Hotel Suvarnabhumi Airport
bulletbeing-mom
bulletมีลูกยาก
bulletSite Map
ปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี whisper
unimom allegro
ardo calypso
Ardo Carum
bulletนมแม่


ร้านนมแม่-เครื่องปั๊มนม


โรคขาดฮอร์โมนธัยรอยด์แต่กำเนิด

 บทความโดย พญ.สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ https://www.doctorbreastfeeding.com/

 

 หรือ โรคเอ๋อ พบได้ประมาณ 1 ต่อทารกเกิด 4000 คน ถ้าไม่ได้รับการรักษาเมื่อเวลาผ่านไปหลายเดือน รอจนเด็กแสดงอาการแล้ว ผลการรักษาจะไม่ดี เด็กจะมีปัญหาการเจริญเติบโตช้าผิดปกติ และ ปัญญาทึบ หากรักษาได้เร็วภายใน 1 เดือน จะช่วยป้องกันไม่ให้มีปัญหาบกพร่องทางระดับสติปัญญา การรักษา คือ การกินฮอร์โมนธัยรอยด์ทุกวัน ซึ่งเป็นวิธีที่ทำง่าย ราคาไม่แพง จึงต้องมีการตรวจคัดกรองเลือดในทารกแรกเกิดเพื่อค้นหาคนที่มีความผิดปกติ และ ให้การรักษาก่อนที่จะแสดงอาการ ซึ่งจะทำเมื่อเด็กมีอายุครบ 2-3 วัน โดยเจาะเลือดที่ส้นเท้าของเด็กและหยดลงในกระดาษซับ ทิ้งไว้ให้แห้ง จากนั้นส่งผลเลือดไปตรวจ วิธีนี้พ่อแม่สามารถรู้ผลได้ภายใน 1-2 สัปดาห์ โดยดูจากค่า TSH (Thyroid Stimulating Hormones) หากค่า TSH เกิน 25 จะติดตามทารกรายนั้นมา ทำการตรวจเลือดเพิ่มเติม เพื่อการวินิจฉัยที่ถูกต้อง
ทารกแรกเกิดที่เป็นโรคนี้มั
กไม่แสดงอาการอะไรในตอนแรก แต่อาจมีบางรายที่มีอาการต่อไปนี้ เช่น นอนหลับเยอะ ไม่ค่อยดูดนม กล้ามเนื้อไม่แข็งแรง ตัวอ่อนปวกเปียก ร้องเสียงเบาหรือแหบ ท้องผูก ตัวเหลืองมากหรือนานผิดปกติ อุณหภูมิกายต่ำกว่าปกติ บางรายที่ขาดฮอร์โมนอย่างรุนแรง อาจตรวจพบ กระหม่อมหน้าใหญ่ กระหม่อมหลังปิดช้า สะดือจุ่น ลิ้นโตคับปาก ตัวลายๆ ผิวแห้งหยาบ พัฒนาการช้ากว่าเด็กวัยเดียวกัน ตัวซีด เฉื่อยชา หนาวง่าย คอพอก
ในยุคก่อนที่จะมีการตรวจคัด
กรอง มีผู้ป่วยน้อยกว่าร้อยละ 50 ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคก่อนอายุ 1 เดือน ที่เหลือค่อยมาทราบภายหลังเพราะว่ามีปัญหาการเจริญเติบโตช้า ตัวเตี้ย และ มีพัฒนาการช้า เมื่อผ่านไปหลายปี จะมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะใบหน้าและรูปร่างที่เรียกว่า โรคเอ๋อ ระดับสติปัญญาต่ำกว่า 80 เรียนหนังสือ หรือ ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้
สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากคุณแม
่ขาดธาตุไอโอดีนขณะตั้งครรภ์ นอกจากนั้นก็อาจเป็นจากความบกพร่องในการสร้างฮอร์โมนของต่อมธัยรอยด์ ขาดต่อมธัยรอยด์แต่กำเนิด หรือ ต่อมธัยรอยด์อยู่ผิดที่ มีบางกรณีที่พบความผิดปกติเป็นแบบชั่วคราวหลายสัปดาห์ แต่ภายหลังกลับมาเป็นปกติได้เอง เช่น กรณีที่แม่เป็นโรคธัยรอยด์เป็นพิษ และมีบางกรณีที่พบการถ่ายทอดทางพันธุกรรม ทำให้มีปัญหาโรคนี้หลายๆคนในครอบครัว มักเป็นกรณีที่มีความผิดปกติในการผลิตฮอร์โมนซึ่งพบได้ไม่บ่อย

การวินิจฉัยโรค
ในหลายประเทศมีการตรวจเลือด
คัดกรองทารกแรกเกิดโดยการเจาะเลือดจากส้นเท้าเมื่ออายุ 2-3 วัน เพื่อหาระดับฮอร์โมน TSH หากพบว่าผิดปกติ จะทำการตรวจเลือดอีกครั้งเพื่อยืนยันการวินิจฉัย และ ให้ยารักษา แพทย์จะส่งตรวจธัยรอยด์สแกนเพื่อดูว่ามีต่อมธัยรอยด์ไหม ต่อมอยู่ผิดที่ไหม

การรักษา 
คือ การให้ฮอร์โมนธัยร็อกซินกิน
ทุกวัน โดยการบดผสมน้ำหรือนมในช้อน อย่าใส่ลงในขวดนมหรือขวดน้ำเพราะจะได้รับยาไม่ครบตามปริมาณ ถ้าเป็นเด็กโต ให้เคี้ยวยาได้ เพราะไม่ขม พร้อมกับติดตามเจาะเลือดเพื่อปรับยาให้เหมาะสมโดยแพทย์เฉพาะทางด้านต่อมไร้ท่อ (ถ้ามีแพทย์เฉพาะทาง) ถ้าได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการปกติ แต่ในรายที่เป็นรุนแรง อาจมีปัญหาด้านการอ่าน ความจำ สมาธิ และด้านคณิตศาสตร์ได้บ้าง โดยเฉพาะรายที่มีอายุกระดูกน้อยกว่าอายุจริงซึ่งทราบจากการเอ็กซเรย์เพื่อตรวจดูอายุกระดูก หรือ รายที่ค่าฮอร์โมนกลับมาเป็นปกติหลังจากได้รับการรักษาแล้วช้ากว่าคนอื่น

เสริมไอโอดีนในแหล่งที่อยู่
ที่ขาดไอโอดีน เช่น บนภูเขา จะต้องได้รับเกลือไอโอดีน น้ำปลาไอโอดีน เพื่อป้องกันโรคขาดธัยรอยด์ฮอร์โมนจากการขาดไอโอดีนซึ่งเป็นวัตถุดิบในการผลิตฮอร์โมน โดยเฉพาะอย่างยิ่งหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมลูก
กรณีแพ้นมวัวแล้วต้องเปลี่ย
นเป็นนมถั่ว ต้องมีการปรับเพิ่มขนาดยา แล้วติดตามดูระดับเลือด เพราะนมถั่วเหลืองจะรบกวนการดูดซึมของยา
ต้องติดตามดูการเจริญเติบโต
 พัฒนาการ อาการแสดงผิดปกติอื่นๆของโรคที่อาจตรวจพบ เช่น อาการตัวเหลือง อาการท้องผูก อาการซีดจากเลือดจาง และเจาะเลือดหลังเริ่มรักษา 1 เดือน แล้วติดตามทุก 1-3 เดือนในปีแรก แล้วเป็นทุก 2-4 เดือนในปีที่สองและสาม เพราะในวัย 0-3 ขวบ จะเป็นช่วงที่สมองของเด็กเจริญเติบโตเร็วที่สุด จึงต้องดูแลใกล้ชิด หลัง 3 ขวบ จะเริ่มเจาะห่างขึ้นได้หากพ่อแม่ให้ยาเป็นอย่างดี ไม่ขาดยา ถ้ามีการปรับขนาดยา ก็จะเจาะเลือดบ่อยขึ้นในช่วงแรกที่ปรับยา
โดยเด็กจะต้องได้รับการรักษ
าตั้งแต่แรกเกิด - 1 เดือน ถึงจะรักษาระดับไอคิวได้เกือบ 100 % แต่ถ้ารักษาในช่วง 1 -3 เดือน แม้เด็กจะสามารถหายเป็นปกติได้ แต่ไอคิวไม่สามารถรักษาหรือเรียกคืนในส่วนที่เสียไปได้และถ้าหลังจาก 3 เดือนไปแล้วโอกาสที่เด็กเป็นปัญญาอ่อนหรือมีความพิการทางประสาทจะสูงถึง 80 %
ควรมีการปรึกษาแพทย์ด้านพัฒ
นาการควบคู่กับการติดตามระดับฮอร์โมน เพื่อหาดูว่า มีความผิดปกติด้านพัฒนาการร่วมด้วยไหม เพื่อการดูแลที่ถูกต้องเหมาะสมต่อไป
เมื่อลูกอายุ 3 ขวบ แพทย์จะลองหยุดยา แล้วประเมินผลเลือดว่าปกติห
รือยัง ถ้ายังผิดปกติ แสดงว่าจำเป็นต้องได้รับยาฮอร์โมนทดแทนตลอดชีวิต แต่รายที่มีความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์ ไม่ต้องลองหยุดการรักษา เพราะต้องรับยาฮอร์โมนทดแทนตลอดไป




20.โรคต่างๆ

ช่วงนี้โรคกระเพาะอาหารและสำไส้อักเสบ
โรคมือ-เท้า-ปาก
โรคหัดกุหลาบ
โรคทางเดินปัสสาวะอักเสบ
โรคอกบุ๋มต้องรักษาหรือไม่ & ทำอย่างไร
โรคไวรัสละกระเพาะและท้องร่วง
โรคคาวาซากิคืออะไร
กลุ่มอาการดาวน์ซินโดรม
ลูกเป็นแผลร้อนในเกิดจากอะไร
หวัดเรื้อรังเกิดจากอะไร
อาการปวดขาในเด็กเกิดจากอะไร
ไอเฉพาะกลางคืน กลางวันดูปกติดี
ต่อมทอนซิล & ต่อมอดีนอยด์โตจำเป็นต้องผ่าตัดหรือไม่
กระดูกข้อศอกเคลื่อนในเด็ก
โรคฮิตของเด็กยุคใหม่ผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง
ปัญหาฟันผุ
รังสีโทรทัศน์ VS สมองเสื่อม