ReadyPlanet.com
ardo calypso
dot
เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ : ข้อควรปฎิบัติ
dot
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 1
bulletการเริ่มต้นชีวิตที่ดีที่สุดสำหรับทารก 2
bulletวิธีเลือกกุมารแพทย์ให้ลูก
bulletก่อนคลอด
bulletสิ่งที่ต้องทำเมื่ออยู่ ร.พ.
bulletหลังคลอด
bulletท่าในการให้นม
bulletBreast Crawl
bulletความคาดหวังของลูกน้อย
bulletบันทึกการให้นมลูก
bulletวิธีให้นมเสริมอย่างถูกต้อง
bulletสัมผัสรักระหว่างแม่ลูก
bulletโรงพยาบาลสนับสนุนนมแม่
bulletแบบสอบถาม
dot
ปัญหาเรื่อง นมแม่
dot
bulletวิธีแก้ปัญหานมไม่พอ
bullet"นมแม่" ถ้าเข้าใจ ยังไงก็พอ
bulletนมพอหรือไม่
bulletเมื่อลูกไม่ดูดนมแม่ (new)
bulletอาหารเพิ่มน้ำนม
bulletวิธีเพิ่มน้ำนมด้วยการปั๊มนม
bulletWorkshop เพิ่มน้ำนม (new)
bulletยาประสระน้ำนม
bulletDomperidone (Motilium)
bulletยาเพิ่มน้ำนม Motilium
bulletคำเตือนสำหรับการใช้ยา Domperidone
bulletน้ำหนักตัวเพิ่มช้า
bulletน้ำหนักตัวน้อย
bulletเจ็บหน้าอก หัวนมแตก
bulletการบีบหน้าอก ช่วยลูกดูดนม
bulletลูกแพ้นมแม่หรือเปล่า
bulletตัวเหลือง
bulletสารพันปัญหา
บริจาคนมแม่
dot
เมื่อแม่ต้องไปทำงาน
dot
bullet20 เคล็ดลับสำหรับแม่ทำงาน
bulletมาทำ stock น้ำนม กันเถอะ
bulletวิธีให้ลูกยอมดูดนมแม่จากขวด
bulletจะให้ลูกกินอะไรเมื่อแม่ไปทำงาน
bulletวิธีเก็บรักษานมแม่
bulletต้องเตรียมปั๊มนมไว้ให้ลูกแค่ไหนถึงจะพอดี ?
bulletโปรแกรมคำนวณนมแม่
bulletยาคุมกำเนิด
dot
คุณแม่นักปั๊ม
dot
bulletการปั๊มนมโดยใช้เครื่องปั๊มนม
bulletปั๊มนมอย่างไรให้พอ หากลูกไม่ดูดจากเต้า
bulletข้อคิดก่อนซื้อ ที่ปั๊มนม
bulletเพิ่มน้ำนมภายใน 14 วันแรก
bulletเครื่องปั๊มนมยี่ห้อไหนดี
bulletซื้อเครื่องปั๊มที่ไหนดี
bulletปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี
bulletเรื่องของคุณแม่นักปั๊ม
bulletถุงเก็บน้ำนมแม่
dot
กลเม็ดเคล็ดลับ
dot
bulletวิธีบีบน้ำนมด้วยมือ (new)
bulletบีบด้วยมือ vs ปั๊มด้วยเครื่อง
bullet10 เคล็ดลับเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้ครบปี
bulletนอนให้นม...สบายมากๆ เลย
bulletอุปกรณ์เสริม ช่วยแม่ให้นมลูก
bulletมุมให้นมแม่
bulletวิธีพาสเจอร์ไรซ์นมแม่
dot
ปัญหาที่พบไม่บ่อย
dot
bulletลิ้นติด (Tongue Tie)
bulletเลี้ยงลูกแฝดด้วยนมแม่
bulletต้องการถามปัญหาอื่นๆ
bulletทำไมทารกร้องไห้โยเย
dot
หนังสือแนะนำ
dot
bulletขอรับหนังสือนมแม่ฟรี
bulletการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletสร้างชีวิตมหัศจรรย์ด้วยน้ำนมแม่
bulletนมแม่ ทุนสมองของลูกรัก
bullet เคล็ดลับ...แม่มือใหม่ "นมแม่"
bulletเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
bulletพัฒนาสมองด้วยนมแม่...
bulletGuide to Breastfeeding
dot
แหล่งข้อมูลความรู้เรื่องนมแม่
dot
bulletคลินิกนมแม่ทั่วประเทศ
bulletนมแม่ แน่ที่สุด
bulletศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย
bulletคลีนิครัก
bulletศริริราชออนไลน์
bulletสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ
bulletwww.breastfeeding.com
bulletPromom
bulletรักลูก
bulletLa Leche League
bullet4woman
bulletMother & Child Health
bulletWABA
bulletBreastfeedingonline
bulletDr. Sears
bulletbreastfeedingbasics
bulletwebboard
bulletkellymom
bulletDr. Jack Newman
bulletInfact
bulletgotbreastpump
bulletNew Beginnings
bulletโครงการสายใยรัก
bulletศูนย์ข้อมูล สสส
bulletUNICEF
bulletbreastfeedingmadesimple
bullethm4hb
bulletLactation Narration
bulletNormalFed
dot
Brainfeeding
dot
bulletเก็บมาฝาก
bulletIf we don't care, who will?
bullet๖๐ เรื่องน่ารู้ ในหลวงของเรา
bulletสัมภาษณ์ ดร. อาจอง ชุมสาย ฯ
bulletคนดีของพ่อ
bulletเรื่องที่ไม่มีใครอยากให้รู้
bulletคุยกับประภาส
dot
Sponsor Link
dot
bulletbfdcenter
bulletร้านนมแม่
bulletศูนย์รวมฟิล์มทุกชนิด
bulletV-Kool
bulletSuvarnabhumi Airport Hostel
bulletBussaba Bangkok Boutique Hotel Suvarnabhumi Airport
bulletbeing-mom
bulletมีลูกยาก
bulletSite Map
ปั๊มไฟฟ้า รุ่นไหนดี whisper
unimom allegro
ardo calypso
Ardo Carum
bulletนมแม่


ร้านนมแม่-เครื่องปั๊มนม


ปั๊มนมอย่างไรให้พอ หากลูกไม่ดูดจากเต้า

เป้าหมาย : 

ปั๊มน้ำนมให้ได้ปริมาณเต็มที่ 25-35 ออนซ์ต่อวัน ภายใน 10-14 วัน หลังคลอด โดยไม่ต้องคำนึงว่าลูกจะกินแค่ไหน  ร่างกายของคุณแม่พร้อมที่จะผลิตน้ำนมแล้ว ถ้ารอนานเกินไป  มันอาจจะยากหรือแทบเป็นไปไม่ได้ที่เพิ่มปริมาณน้ำนมให้ได้ถึงระดับนี้ 

 

หลังจากคลอด เริ่มต้นปั๊มนมให้เร็วที่สุดเท่าที่จะสามารถทำได้ โดยปั๊มให้ได้ 8-10 ครั้งทุก 24 ช.ม. (เท่ากับจำนวนครั้งที่ลูกดูดต่อวัน) ยิ่งปั๊มได้บ่อยแค่ไหนต่อวัน ก็จะยิ่งทำให้เต้านมผลิตน้ำนมได้มากขึ้นเท่านั้น  เลือกใช้เครื่องปั๊มนมที่เหมาะสม แบบปั๊มคู่ (ดูวิธีเลือกเครื่องปั๊มนมที่เหมาะสม ด้านล่าง)

  • จนกว่า น้ำนมจะมาจริงๆ ในวันที่ 3 หรือ 4 หลังคลอด ให้ปั๊มนมเป็นเวลาอย่างน้อย 10-15 นาทีต่อข้าง ต่อการปั๊มแต่ละครั้ง
  • เมื่อปริมาณน้ำนมเพิ่มขึ้นแล้ว พยายามปั๊มให้นานขึ้น (บ่อยที่สุดเท่าที่ทำได้) อย่างน้อย 20-30 นาที หรือปั๊มต่ออีก 2 นาทีหลังจากน้ำนมถูกปั๊มออกหมดแล้ว แล้วแต่กรณีใดจะเกิดก่อน (การปั๊มให้เกลี้ยงเต้า จะช่วยให้น้ำนมผลิตได้เร็วขึ้น)
  • การใช้มือกระตุ้นกลไกการหลั่งน้ำนมก่อนปั๊ม นวดเต้าระหว่างปั๊ม และบีบด้วยมือตามหลังจากปั๊มทุกครั้ง จะช่วยให้ร่างกายผลิตน้ำนมได้มากขึ้น

ตั้งเป้าที่จำนวนครั้งของการปั๊มต่อวัน ไม่ใช่ระยะห่างของการปั๊มแต่ละครั้ง 

  • ถ้าคุณคิดถึงแต่ว่าจะต้องปั๊มทุกกี่ช.ม. เมื่อมีการปั๊มครั้งหนึ่งช้าไปบ้าง จะทำให้จำนวนครั้งในการปั๊มต่อวัน (ปัจจัยสำคัญ) ลดลงไปโดยไม่รู้ตัว
  • เมื่อวางแผนการปั๊ม พยายามคิดว่า "ฉันจะปั๊มให้ได้ 10 ครั้งหรือมากกว่าได้ยังไง"
  • ถ้าไม่สามารถปั๊มได้ระหว่างช่วงไหนของวัน ให้ปั๊มทุกชั่วโมงในช่วงที่ทำได้เพื่อให้ถึงเป้าหมายที่กำหนด (8-10 ครั้งต่อวัน)
  • ก่อนที่จะถึงเป้าหมาย 25-35 ออนซ์ต่อวัน ให้ปั๊มตอนกลางคืนอย่างน้อยหนึ่งครั้ง และอย่าให้ช่วงห่างระหว่างการปั๊มแต่ละครั้งนานเกินกว่า 5 ช.ม. (เต้านมที่คัดมากๆ และไม่ได้ปล่อยออก จะทำให้การผลิตน้ำนมช้าลง)

เมื่อสามารถปั๊มได้ตามเป้าหมาย 25-35 ออนซ์ต่อวัน อาจจะลดจำนวนครั้งที่ปั๊มลงและยังคงรักษาระดับปริมาณน้ำนมนี้ไว้ได้ 

  • ลดจำนวนครั้งในการปั๊มเป็น 5-7 ครั้งต่อวัน ซึ่งเป็นจำนวนครั้งที่คุณแม่ส่วนใหญ่สามารถรักษาระดับปริมาณการผลิตน้ำนมไว้ได้คงที่
  • อาจจะไม่จำเป็นต้องลุกขึ้นมาปั๊มตอนกลางคืน บางคนอาจจะปั๊มก่อนเข้านอนและปั๊มอีกครั้งทันทีที่ตื่นตอนเช้าก็ได้
  • เมื่อปริมาณน้ำนมถึงจุดที่กำหนดแล้ว  ปั๊มเพียง 10-15 นาทีต่อครั้งก็พอ
  • สังเกตปริมาณน้ำนมสัปดาห์ละครั้งด้วยการจดบันทึกปริมาณน้ำนมที่ได้ในแต่ละวัน

ถ้าต้องการเพิ่มปริมาณน้ำนม ยิ่งเริ่มต้นปฏิบัติได้เร็วเท่าใด ผลสำเร็จก็ยิ่งเร็วขึ้นเท่านั้น 

ปริมาณ 25-35 ออนซ์ เป็นปริมาณนมแม่เฉลี่ยที่ทารกอายุ 1-6 เดือน ควรได้รับอย่างพอเพียงในแต่ละวัน หลังจาก 6 เดือนไปแล้ว ปริมาณน้ำนมที่ทารกต้องการจะลดลง เพราะถูกแทนที่ด้วยอาหารตามวัย หากคุณแม่มีปริมาณนมส๊อกมากพอ สามารถเริ่มลดรอบปั๊มได้หากต้องการ  

จากบางส่วนของบทความเรื่อง

"How to Established a Full Milk Supply with a Breast Pump

" โดย Nancy Mohrbacher, IBCLC  

 เครื่องปั๊มนมที่ได้มาตรฐานสำหรับการปั๊มล้วน

  1. เครื่องปั๊มนมแบบปั๊มคู่ สามารถปรับแรงดูดและรอบดูดได้ใกล้เคียงกับทารก
  2. แรงดูดไม่ควรเกิน (250 mmHg หรือ 330 mBar) หากเกินกว่านี้จะทำให้เต้านมบาดเจ็บ ท่อน้ำนมตีบ และ/หรือ เส้นเลือดฝอยในเต้านมแตก
  3. รอบดูดไม่ต่ำกว่า 30 ครั้งต่อนาที หากรอบต่ำมากๆ ร่วมกับแรงดูดที่แรง จะยิ่งทำให้เต้านมบาดเจ็บมากขึ้น
  4. ขนาดกรวยปั๊มเหมาะสม (หัวนมเคลื่อนไหวได้สะดวก ไม่เสียดสีกับคอกรวย)

เครื่องที่เหมาะสม
✔️ รู้สึกสบายเวลาปั๊ม ไม่เจ็บ ไม่แสบ
✔️ นมไหลดี หลังปั๊มเต้านิ่ม โล่ง
✔️ หลังปั๊มหัวนมไม่บวม ไม่ยื่น ไม่ยาว
✔️ เมื่อปั๊มอย่างสม่ำเสมอ นมจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
 

เครื่องที่ไม่เหมาะสม
 เจ็บ แสบ เวลาปั๊ม
 หัวนมถลอก แตก เป็นแผล มีรอยฉีก
 หลังปั๊มหัวนมบวม ยื่น ยาว
 ปั๊มไม่ค่อยออก เต้าหนัก ไม่โล่ง
 ปั๊มมานานแล้ว นมไม่เพิ่ม

หมายเหตุ 

สำหรับคุณแม่ที่มาอ่านบทความนี้หลังจากลูกอายุ 2-3 เดือนหรือมากกว่าก็ตาม และมีปัญหาน้ำนมน้อยลงก็สามารถนำวิธีการปั๊ม

เพื่อกระตุ้นน้ำนมดังกล่าวไปใช้ได้เช่นกันค่ะ โดยพยายามปั๊มบ่อยๆ เท่าที่ทำได้




กลเม็ดเคล็ดลับ

5 อันดับสุดยอดเครื่องปั๊มนม Hospital Grade ระดับ World Class ที่ดีที่สุดในโลก
50 ข้อควรรู้ก่อนซื้อเครื่องปั๊มนม
จะซื้อเครื่องปั๊มนมยี่ห้อไหนดี
มาทำ stock น้ำนมกันเถอะ
กินอะไรเพิ่มน้ำนม
‎แม่ทำงานนอกบ้าน ‎ปั๊มนม อย่างไรให้พอเลี้ยงลูกได้นานๆ article
วิธีบีบน้ำนมด้วยมือ
10 เคล็ดลับเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ให้ครบปี
วิธีให้ลูกยอมดูดนมแม่จากขวด
เทคนิคฝึกลูกดูดเต้า (ฉบับ คุณแม่ใจเด็ด)
ลูกติดเต้า ไม่เอาขวด (ตอนที่ 3 จุกนมแบบไหนดี)
ลูกติดเต้า ไม่เอาขวด (ตอนที่ 1 ทำไมถึงติดเต้า)
ลูกติดเต้า ไม่เอาขวด (ตอนที่ 2 แม่ต้องไปทำงาน)
5 เทคนิคฝึกลูกดูดเต้า (ฉบับ คุณแม่ใจอ่อน)
วิธีทำอุปกรณ์ Hands Free ใช้เองง่ายๆ
ทำอย่างไรจึงมีนมแม่เพียงพอโดยไม่ต้องให้นมผสม
น้ำนมแม่มีกลิ่นหืนทำอย่างไร
คำนวณปริมาณน้ำนม